Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเหนียวสายพันธุ์แม่โจ้ 2 จากข้าวเจ้าพันธุ์ปทุมธานี 1 ด้วยวิธีผสมกลับ เเละใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก
Improvement of glutinous rice Maejo 2 line from non-glutinous rice Pathum Thani 1 with molecular marker-assisted backcrossing
Autores:  Varaporn Sangtong
Natdanai Subsomboon
Jetsarun Suwanthanee
Suphasuda Inbualuang
Anurak Polyieam
Jirapha Pano
Benjawan Lhakawee
Data:  2014-06-10
Ano:  2012
Palavras-chave:  Maejo 2
Pathum Thani 1
Non glutinous rice
Glutinous rice
Molecular marker
ข้าวเจ้า
พันธุ์ปทุมธานี 1
พันธุ์แม่โจ้ 2
ข้าวเหนียว
การปรับปรุงพันธุ์
เครื่องหมายโมเลกุล
วิธีผสมกลับ
การคัดเลือกพันธุ์
Resumo:  “Maejo 2” is a new variety of glutinous rice with desirable aroma, lacking photoperiod sensitivity and exhibiting a semi-dwarf stature. Glutinous rice Maejo 2 was improved from the recurrent non-glutinous rice parent, Pathum Thani 1 (WxWx), which has desirable aroma, lacks photoperiod sensitivity and has a semi-dwarf stature. Pathum Thani 1 was crossed with a glutinous rice (wxwx) donor parent, RD6 to initiate a backcross breeding program. Molecular markers for the wx (glutinous, recessive) or Wx (normal, dominant) alleles were used to identify progeny that inherited the desired wx allele in heterozygous individuals that don’t express the glutinous phenotype. Thus, each BCnF1 generation, F1 progeny with the of backcrossing in this way, the BC4F1 plants were self pollinated to produce BC4F2 progeny that segregated to produce both glutinous and non-glutinous seeds. Glutinous seeds were planted and self pollinated to produce true breeding glutinous BC4F3 seed that was observed in two seasons and tested in yield trials for three seasons. Chemical properties, and resistance to blast and brown planthopper were also tested. After seven years of development, Maejo2 exhibits a unique combination of desired traits including glutinous texture, desirable aroma, lack of photoperiod sensitivity and semi-dwarf stature.

ข้าวเหนียวหอม ต้นเตี้ย ไม่ไวต่อช่วงแสง สายพันธุ์แม่โจ้ 2 เป็นสิ่งที่คิดค้นขึ้นใหม่ โดยมีความแปลก ใหม่ เพราะได้จากการปรับปรุงพันธุ์ข้าวเจ้าหอม ต้นเตี้ย ไม่ไวต่อช่วงแสง พันธุ์ปทุมธานี 1 ซึ่งเป็นพันธุ์รับ และ ข้าวเหนียวพันธุ์กข6 เป็นพันธุ์ให้ ด้วยวิธีผสมกลับ โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก (molecular marker-assisted backcrossing; MAB) โดยผสมข้าวเจ้า (WxWx) พันธุ์ปทุมธานี 1 (พันธุ์รับ) กับข้าวเหนียว(wxwx) พันธุ์ กข6 (พันธุ์ให้) ต่อจากนั้นนำ F1 (Wxwx) ผสมกลับไปหาข้าวเจ้าพันธุ์ปทุมธานี 1 (พันธุ์รับ) จำนวน 4 ครั้ง แต่ละครั้งของการผสมกลับ ใช้เครื่องหมายโมเลกุล คือ wx marker ซึ่งเฉพาะกับ อัลลีลเด่น Wx : ข้าวเจ้า และ อัลลีลด้อย wx : ข้าวเหนียว ช่วยคัดเลือกต้น BCnF1 ที่มียีโนไทป์เป็น Wxwx แล้วจึงผสมกลับไปหาข้าวเจ้าพันธุ์ปทุมธานี 1 เมื่อได้ต้น BC4F1 ที่มียีโนไทป์เป็น Wxwx ทำการผสมตัวเองได้เมล็ด BC4F2 คัดเลือกเมล็ดข้าวเหนียว (wxwx) ไปปลูกต่อ และผสมตัวเองได้เมล็ด BC4F3 แล้วนาไปปลูกศึกษาพันธุ์ 2 ฤดู ทดสอบผลผลิต 3 ฤดู รวมทั้งทดสอบคุณสมบัติทางเคมีของข้าว ระดับความต้านทานโรคไหม้ และเพลี้ย กระโดดสีน้ำตาล ทำการทดลองทั้งหมด 7 ปีต่อเนื่อง จนได้ข้าวเหนียวหอม ต้นเตี้ย ไม่ไวต่อช่วงแสง สายพันธุ์แม่โจ้ 2
Tipo:  Collection
Idioma:  Thailandês
Identificador:  [Proceeding of rice research symposium 2012: Rice research center groups in upper and lower northern region], Phitsanulok (Thailand), p. 137-147

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5589

เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการกลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคเหนือตอนบนและภาคเหนือตอนล่าง ประจำปี 2555, พิษณุโลก, หน้า 137-147
Formato:  298 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional