Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การใช้กับดักแสงไฟคาดการณ์การระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในจังหวัดปราจีนบุรี
Forecasting the brown planthopper, Nilaparvata lugens (Stal) outbreak in Prachin Buri province by using light trap
Autores:  Wannaphan Janlapha
Chalermpol Chalermpolyotin
Data:  2015-05-19
Ano:  2013
Palavras-chave:  Brown planthopper
BPH
Nilaparvata lugens
Mirid bug
Natural enemy
Outbreak
Forecasting
Surveying
Light trap
Prachin Buri province
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
มวนเขียวดูดไข่
แมลงศัตรูธรรมชาติ
กับดักแสงไฟ
การสุ่มสำรวจ
การคาดการณ์การระบาด
การระบาดของแมลงศัตรูพืช
จังหวัดปราจีนบุรี
Resumo:  Major pest in irrigated rice growing area of central and lower northern region since 1975 is brown planthopper. The factors of BPH outbreak are varieties seed rate fertilizer use misuse of chemical. The monitoring of population density is very important for forecasting the BPH outbreak. Light trap, an effective tool for monitoring the outbreak of BPH was conducted in hot spot areas. Light trap was set in Prachin Buri Rice Research Center while surveying in farmers’ field in hot spot areas of outbreak in Prachin Buri province were investigated during January 2011 to December 2012. The number of BPH from light trap was counted everyday throughout the year. The results showed that light trap could collect large number of BPH. The peak of BPH in light trap was more than 140,000 hoppers/trap/month which related to the BPH outbreak in farmer’s field and the number of mirid bug. This peak could indicate the BPH outbreak in hotspot areas of Prachin Buri province then warning should be sent to the farmer. So the farmer can take survey the insects in their field. In Bansang Srimahosot Srimahaphot Mueang and Nadi district the peak of adult BPH in farmer field presented after that 15 - 21 days the peak of larva occur .This situation could indicate the BPH outbreak.

แมลงศัตรูที่สำคัญและทำความเสียหายแก่ผลผลิตข้าวคือเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ปัจจัยที่มีผลต่อการระบาดคือ ปลูกข้าวพันธุ์อ่อนแอ ใช้อัตราเมล็ดพันธุ์และปุ๋ยเคมีสูง ใช้สารเคมีไม่ถูกต้อง การใช้กับดักแสงไฟ และการสุ่มสำรวจจึงเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดตามปริมาณของแมลง โดยศึกษาความสัมพันธ์ของจำนวนเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลจากกับดักแสงไฟกับข้อมูลการสุ่มสำรวจแมลงในแปลงนา เพื่อใช้ในการคาดการณ์การระบาด ดำเนินการตั้งแต่มกราคม 2554 - ธันวาคม 2555 โดยการติดตั้งกับดักแสงไฟที่ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี บริเวณแปลงนาทดลอง เปิดไฟล่อแมลงระหว่างเวลา 18.00 น. – 21.00 น. ทุกคืนตลอดปี ทำการสุ่มสำรวจแมลงในนาเกษตรกรในพื้นที่ๆมีประวัติการระบาดรุนแรง ของจังหวัดปราจีนบุรี พบว่าจำนวนเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลจาก กับดักแสงไฟ มีจำนวนสูงสุดในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 ประมาณ 1.4 แสนตัว/ กับดัก/เดือน ซึ่งสัมพันธ์กับการระบาดในแปลงนาเกษตรกร และจำนวนของมวนเขียวดูดไข่ การเตือนภัยการระบาดได้ดำเนินการแจ้งเตือนแก่เกษตรกร และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ พื้นที่อำเภอบ้านสร้าง ศรีมโหสถ ศรีมหาโพธิ เมือง และนาดี ตรวจพบจำนวนตัวเต็มวัยของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในนาข้าวสูงสุด และหลังจากนั้นประมาณ 15-21 วัน พบจำนวนตัวอ่อนสูงสุดในนาข้าว เป็นข้อมูลบ่งชี้ให้เกษตรกรในพื้นที่ทำการสำรวจแมลงเพื่อเฝ้าระวัง และติดตามสถานการณ์การระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  [Proceeding of rice research conference 2012: Rice research center groups in central, eastern and western region], Bangkok (Thailand), p. 237-247

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5707

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการข้าว กลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคกลาง ตะวันออก และตะวันตก ประจำปี 2555, กรุงเทพฯ, หน้า 237-247
Formato:  315 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสาร นี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional