Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  อิทธิพลของสภาพแวดล้อมต่อความแปรปรวนของลักษณะประจำพันธุ์ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง
The effect of environmental to characterized of non-photosensitive rice varieties
Autores:  Pichatorn Ruangdej
Nutthapun Pinkum
Precha Punyaphong
Jarat Singkee
Data:  2015-05-18
Ano:  2014
Palavras-chave:  Rice
Rice production
Non photosensitive rice
Climatatic change
Global warming
Phitsanulok 2 variety
Plathumtani 1 variety
RD 31 variety
RD 41 variety
Growth affect
Characteristic
Variance
Temperature
Season
ข้าว
การผลิตข้าว
ความเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ
พันธุ์ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง
พันธุ์พิษณุโลก 2
พันธุ์ปทุมธานี 1
พันธุ์กข 31
พันธุ์กข 41
การปลูกปักดำ
สภาพแวดล้อม
ลักษณะประจําพันธุ์
ความแปรปรวน
อุณหภูมิ
ฤดูกาล
การเจริญเติบโต
ผลผลิต
ภาวะโลกร้อน
Resumo:  Effect of climate change on rice growth and yield had been studied during January 2011 through October 2013 at Chiang mai Rice Research Center, Chiang mai Province. Experimental design was split plot with three replications. Main plot were planting dates in each month as planting at January (stage1) April (stage2) July (stage3) and October (stage4). Sub plots were rice varieties, consisting of Plathumtani 1, Phitsanulok 2, RD31 and RD41. The research found that the climate change under stress of environmental. Effect to the rice varieties as a permanent. Planting in January in 2011, temperature in the night less than 15 degree and between the day temperature more than 30 degree effect to plant height of Plathumtani 1 and effect to germination of rice seed. Planting in October(stage4) also gave the lowest plant height and lowest grain yield. This study indicated that planting in January (stage1) and October (stage4) is not suitable for rice production in Northern part of Thailand.

การศึกษาผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ ที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าว ดำเนินการตั้งแต่เดือน มกราคม 2554 ถึงเดือน ตุลาคม 2556 เป็นเวลาทำการทดลองทั้งสิ้น 3 ปี ที่ศูนย์วิจัยข้าวเชียงใหม่ โดยวางแผนการทดลองแบบ Split plot in RCB จำนวน 3 ซ้ำ ปัจจัยหลัก คือ ช่วงปลูกแบ่งเป็น 4 ช่วงปลูก ได้แก่ ช่วงปลูกเดือนมกราคม ช่วงปลูกเดือนเมษายน ช่วงปลูกเดือนกรกฎาคม และช่วงปลูกเดือนตุลาคม ส่วนปัจจัยรอง คือ พันธุ์ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง 4 พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ปทุมธานี 1 พิษณุโลก 2 กข31 และ กข41 ปลูกแบบปักดำ ผลการทดลอง พบว่า อุณหภูมิสูงขึ้น หรือลดต่ำลง ไม่ได้ทำให้ลักษณะประจำพันธุ์ข้าวแต่ละพันธุ์เปลี่ยนไป แต่เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมซึ่งเป็นแบบชั่วคราวเท่านั้น ลักษณะประจำพันธุ์ ไม่เปลี่ยนไปจากลักษณะพันธุ์เดิม เช่น สีของแผ่นใบ สีกาบใบ สีลิ้นใบ สีหูใบ สีข้อต่อใบ เป็นต้น ส่วนลักษณะการเจริญเติบโตของแต่ละพันธุ์ ได้แก่ ความสูง พบว่า ในการทดลองปี 2554 อุณหภูมิกลางคืนต่ำ 15 องศาเซลเซียส อุณหภูมิช่วงกลางวันมากกว่า 30 องศาเซลเซียส อากาศเย็น มีผลกระทบต่อช่วงปลูกเดือนมกราคม ทำให้ข้าวทั้ง 4 พันธุ์ มีความยาวกล้าสั้น และข้าวพันธุ์ปทุมธานี 1 มีความยาวกล้าข้าว ที่อายุ 25 วันน้อยที่สุด ต้องตกกล้า 2 - 3 รอบ เนื่องจากข้าวไม่งอก และเจริญเติบโตช้า อุณหภูมิสูงและลดลงต่ำอย่างรวดเร็ว ระหว่างวัน ตั้งแต่ช่วงเดือนตุลาคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์ อุณหภูมิกลางวันต่างจากกลางคืน 20 - 25 องศาเซลเซียส ทำให้ช่วงปลูกเดือนตุลาคม ได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศแปรปรวน ทำให้ความสูงเฉลี่ยต่ำกว่าช่วงปลูกอื่น และมีค่าต่ำกว่าลักษณะประจำพันธุ์อย่างมีนัยสำคัญ
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  [Proceeding of rice research conference 2014: Rice research center groups in upper and lower northern region], Chainat (Thailand), p. 260-275

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5699

เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการกลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคเหนือตอนบนและภาคเหนือตอนล่าง ประจำปี 2557, ชัยนาท, หน้า 260-275
Formato:  434 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสาร นี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional