Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนและความทนทานต่อสภาพไนโตรเจนต่ำในข้าวโพดข้าวเหนียว
Nitrogen use efficiency and low nitrogen tolerance in waxy corn
Autores:  Kitti Boonlertnirun
Choosak Jompuk
Data:  2012-10-18
Ano:  2011
Palavras-chave:  Waxy corn
Correlation
Low nitrogen tolerant index
Low nitrogen susceptible index
Cluster analysis
ข้าวโพดข้าวเหนียว
ปุ๋ยไนโตรเจน
ดัชนีความทนทานต่อสภาพไนโตรเจนต่ำ
ดัชนีความอ่อนแอต่อสภาพไนโตรเจนต่ำ
ค่าสหสัมพันธ์
องค์ประกอบผลผลิต
ผลผลิต
ลักษณะทางการเกษตร
การวิเคราะห์จัดกลุ่ม
การปรับปรุงพันธุ์
Resumo:  ประเมินประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ย ไนโตรเจนของข้าวโพดข้าวเหนยี ว 27 พันธุ์ เพื่อใช้เป็นเชื้อ พันธ์สำหรับการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียว วิเคราะห์สัมประสิทธิ์ความเหมือน จากลักษณะผลผลิต องค์ประกอบผลผลิต และลักษณะทางการเกษตร ด้วยวิธี Squared Euclidean และวิเคราะห์จัดกลุ่มโดยวิธี Ward’s method สามารถจำแนกพันธุ์ข้าวโพดออกเป็น 4 กลุ่ม ที่มีขนาดฝัก ขนาดต้น และอายุออกดอกแตกต่างกัน พบว่า กลุ่มพันธุ์ที่มีฝักขนาดใหญ่ มีผลผลิตโดยน้ำหนักดัชนีความทนทานต่อการขาดไนโตรเจน และมีประสทธิภาพการใช้ป๋ยุ ไนโตรเจนดีก ว่ากล่มุพันธุ์ที่ มี ฝักขนาดเล็ก กลุ่มพันธุ์ที่มีฝักใหญ่ พันธุ์ BW, PEK และSLKM มีประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนดีที่สุด และให้ผลผลิตสูงเมื่อใส่ปุ๋ยไนโตรเจนอัตราสูง แต่ให้ผลผลิต ต่ำเมื่อใส่ป๋ยุ ไนโตรเจนอัต ราต่ พันธุ์ WPP BW และ NSW มีดัชนีความทนทานต่อการขาดไนโตรเจนสูงสุด ให้ผลผลิตอยู่ในเกณฑ์ดี ทั้งในสภาพแปลงที่ใส่ปุ๋ยไนโตรเจนอัตราสูง และอัตราต่ำ ขณะที่พันธุ์ THT และ TNOให้ผลผลติ ต่ำทั้ง ในสภาพที่ใส่ป๋ยุ ไนโตรเจนสงู และต่ำ มีค่าดัชนีความอ่อนแอต่อการขาดไนโตรเจนต่ำกว่าพันธุ์ อื่น ๆ จึง เป็นพันธุ์ที่ไม่ตอบสนองต่อการใส่ป๋ยุไนโตรเจน ความสัมพันธุ์ระหว่างผลผลิต กับ ดัชนีความทนทานต่อสภาพไนโตรเจนต่ำและประสิทธภาพการใช้ป๋ยุ ไนโตรเจน แสดงให้เห็นว่า พันธุ์พืชที่ดี ควรเป็นพันธุ์ที่มี ค่าดัชนีความทนทานต่อสภาพขาดไนโตรเจนมีประสิทธภาพการใช้ปุ๋ย ไนโตรเจนสูง และให้ผลผลติ สูง กว่าพันธุ์อื่นๆ ทั้งในสภาพปกติแ ละสภาพขาดไนโตรเจน การคัดเลือกพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงในสภาพใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูงและสภาพไนโตรเจนต่ำ เหมาะสำหรับการปรับปรุงพันธุ์เพื่อให้ได้พันธุ์ที่มีประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนที่ดี และมีความทนทานต่อสภาพขาดไนโตรเจน ตามลำดับ

ประเมินประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ย ไนโตรเจนของข้าวโพดข้าวเหนยี ว 27 พันธุ์ เพื่อใช้เป็นเชื้อ พันธ์สำหรับการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดข้าวเหนียว วิเคราะห์สัมประสิทธิ์ความเหมือน จากลักษณะผลผลิต องค์ประกอบผลผลิต และลักษณะทางการเกษตร ด้วยวิธี Squared Euclidean และวิเคราะห์จัดกลุ่มโดยวิธี Ward’s method สามารถจำแนกพันธุ์ข้าวโพดออกเป็น 4 กลุ่ม ที่มีขนาดฝัก ขนาดต้น และอายุออกดอกแตกต่างกัน พบว่า กลุ่มพันธุ์ที่มีฝักขนาดใหญ่ มีผลผลิตโดยน้ำหนักดัชนีความทนทานต่อการขาดไนโตรเจน และมีประสทธิภาพการใช้ป๋ยุ ไนโตรเจนดีก ว่ากล่มุพันธุ์ที่ มี ฝักขนาดเล็ก กลุ่มพันธุ์ที่มีฝักใหญ่ พันธุ์ BW, PEK และSLKM มีประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนดีที่สุด และให้ผลผลิตสูงเมื่อใส่ปุ๋ยไนโตรเจนอัตราสูง แต่ให้ผลผลิต ต่ำเมื่อใส่ป๋ยุ ไนโตรเจนอัต ราต่ พันธุ์ WPP BW และ NSW มีดัชนีความทนทานต่อการขาดไนโตรเจนสูงสุด ให้ผลผลิตอยู่ในเกณฑ์ดี ทั้งในสภาพแปลงที่ใส่ปุ๋ยไนโตรเจนอัตราสูง และอัตราต่ำ ขณะที่พันธุ์ THT และ TNOให้ผลผลติ ต่ำทั้ง ในสภาพที่ใส่ป๋ยุ ไนโตรเจนสงู และต่ำ มีค่าดัชนีความอ่อนแอต่อการขาดไนโตรเจนต่ำกว่าพันธุ์ อื่น ๆ จึง เป็นพันธุ์ที่ไม่ตอบสนองต่อการใส่ป๋ยุไนโตรเจน ความสัมพันธุ์ระหว่างผลผลิต กับ ดัชนีความทนทานต่อสภาพไนโตรเจนต่ำและประสิทธภาพการใช้ป๋ยุ ไนโตรเจน แสดงให้เห็นว่า พันธุ์พืชที่ดี ควรเป็นพันธุ์ที่มี ค่าดัชนีความทนทานต่อสภาพขาดไนโตรเจนมีประสิทธภาพการใช้ปุ๋ย ไนโตรเจนสูง และให้ผลผลติ สูง กว่าพันธุ์อื่นๆ ทั้งในสภาพปกติแ ละสภาพขาดไนโตรเจน การคัดเลือกพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงในสภาพใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูงและสภาพไนโตรเจนต่ำ เหมาะสำหรับการปรับปรุงพันธุ์เพื่อให้ได้พันธุ์ที่มีประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนที่ดี และมีความทนทานต่อสภาพขาดไนโตรเจน ตามลำดับ
Tipo:  Collection
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5197

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2011, V. 39, No. 3, p. 231-240

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2554, ปีที่ 39, ฉบับที่ 3, หน้า 231-240
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional