Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  พฤติกรรมการใช้สารฆ่าแมลงของเกษตรกรพื้นที่ระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในภาคกลาง
Insecticide application of farmers' behavior in the BPH outbreak areas of central rice growing region
Autores:  Jintana Chaiwong
Wantana Sriratanasak
Sukanya Arunmit
Urassaya Boonpramook
Data:  2015-05-08
Ano:  2013
Palavras-chave:  Brown planthopper
Nilaparvata lugens
Abamectin
Insecticide application
Nakhon Nayok province
Suphanburi province
Ang Thong province
Chainat province
Phitsanulok province
Nonthaburi province
Paddy field
Rice production
Behavior
Outbreak
BPH
Insecticide abuse
Interviwe
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
พฤติกรรมการใช้
อะบาเม็กติน
การสัมภาษณ์เกษตรกร
จ.นครนายก
จ.สุพรรณบุรี
จ.อ่างทอง
จ.ชัยนาท
จ.พิษณุโลก
จ.นนทบุรี
นาข้าว
สารฆ่าแมลง
การระบาดของแมลงศัตรูพืช
ความเสียหายของผลผลิต
วิธีการใช้สารเคมี
Resumo:  Main Factors affecting brown planthopper (BPH) outbreaks in the Central region from past up to now are cultivations of susceptible rice varieties and misused insecticide application. The aim of this research was to prove the misused of insecticide application in the hot spot area causing BPH severe outbreak. One hundred to one hundred fifty farmers from six provinces: Nakhon Nayok, Suphan Buri, Ang Thong, Chai Nat, Phitsanulok and Nonthaburi were interviewed during August to November 2010. The result found 56.5 to 100 percent of farmer sprayed insecticide for two to six times/seasons. Most farmers applied insecticide, especially Abamectin as cocktails mixed with two to six types of fungicides and/or herbicides. Most farmers were sprayed insecticide when they early found insect in the paddy rice and the recommendation was from pesticide retailers. More than fifty percent of farmers from six provinces believed that non official recommended insecticides application causing BPH severe outbreak. Farmer from Suphan Buri, Ang Thong and Nonthaburi province believed that non official recommended insecticides had significantly related to the severe outbreaks.

การระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในภาคกลางจากอดีตถึงปัจจุบัน มีปัจจัยหลักจากการปลูกข้าวพันธุ์อ่อนแอ และการใช้สารฆ่าแมลงอย่างผิดวิธี งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพิสูจน์ว่าการใช้สารฆ่าแมลงของเกษตรกรอย่างไม่ถูกวิธีในพื้นที่ระบาดประจำ เป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดการระบาดรุนแรง ได้ทำการสัมภาษณ์เกษตรกรจำนวน 100 ถึง 150 ราย จากจังหวัดนครนายก สุพรรณบุรี อ่างทอง ชัยนาท พิษณุโลก และนนทบุรี ในระหว่างเดือนสิงหาคม ถึง พฤศจิกายน 2553 พบส่วนใหญ่เกษตรกรใช้สารฆ่าแมลงร้อยละ 56.5 ถึง 100 โดยมีการพ่นประมาณ 2 – 6 ครั้งต่อฤดูปลูก และเกษตรกรใช้สารฆ่าแมลงผสมกัน 2 – 6 ชนิดต่อการพ่น 1 ครั้ง โดยเฉพาะสารฆ่าแมลง อะบาเม็กติน นิยมนำมาผสมร่วมกับสารป้องกันกำจัดเชื้อราสาเหตุโรค และหรือ สารป้องกันกำจัดวัชพืช เกษตรกรส่วนใหญ่พ่นสารฆ่าแมลงเมื่อเริ่มพบแมลง และได้รับคำแนะนำจากร้านค้าจำหน่ายสารเคมี เกษตรกรมากกว่าร้อยละ 50 จาก 6 จังหวัด เชื่อว่าการระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลที่รุนแรงเกิดจากการใช้สารที่ทางราชการไม่แนะนำ โดยเกษตรกรจากจังหวัด สุพรรณบุรี อ่างทอง และนนทบุรี เชื่อว่าการใช้สารฆ่าแมลงที่ทางราชการไม่แนะนำมีความสัมพันธ์กับการระบาดรุนแรงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  [Proceeding of rice research conference 2012: Rice research center groups in central, eastern and western region], Bangkok (Thailand), p. 248-264

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5679

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการข้าว กลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคกลาง ตะวันออก และตะวันตก ประจำปี 2555, กรุงเทพฯ, หน้า 248-264
Formato:  315 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสาร นี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional