Registro completo |
Provedor de dados: |
Thai Agricultural
|
País: |
Thailand
|
Título: |
ผลของการพอกเมล็ดด้วย Pumice zeolite และ bentonite ต่อคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ยาสูบพันธุ์เวอร์จิเนีย
Effects of seed pelleting with pumice zeolite and bentonite on seed quality of tobacco (Nicotiana tabacum L.)
|
Autores: |
Jakkrapong Kangsopa
Boonmee Siri
|
Data: |
2015-05-20
|
Ano: |
2013
|
Palavras-chave: |
Tobacco seed
Virginia variety
Seed pelleting
Adhesive materials
Pumice zeolite
Bentonite
Filler materials
Hydroxyl propyl methylcellulose
HPMC
Aging seed
Seed vigour
Germination percentage
เมล็ดพันธุ์ยาสูบ
พันธุ์เวอร์จิเนียร์
การพอกเมล็ดพันธุ์
วัสดุพอก
วัสดุประสาน
การเร่งอายุเมล็ดพันธุ์
อัตราการงอกของเมล็ด
ความแข็งแรงของเมล็ด
|
Resumo: |
Tobacco seeds are very small in seed size, causing non-uniformseedlings development, vunerable to disease infection, as a result requires higher seeding rate. This research aims to study effect of material filler on tobacco seed quality. The experiment was conducted at laboratory of seed quality testing section, Seed Processing Plant, Faculty of Agriculture, Khon Kaen University. The Virginia tobacco seeds were pelleted with three types of fillers including pumice zeolite and bentonite. The binder material used wasis hydroxyl propyl methylcellulose (HPMC) with concentration of 4 percent by weight. The result showed that the seed pelleting with pumice. Solubility in water is best when compared with other types of material fillers. Furthermore it’s the consistently was 91 percent. The germination and speed of germination both in laboratory and greenhouse were higher rather than seed pelleted with zeolite and bentonite. After the pelleted seeds with pumice were age accelerated it showed that they had higher the percentage of seed germination and speed of germination than other material fillers. Based on this study, it could be concluded that pumice was suitable for pelleting seed tobacco and seed germination and vigor rather than zeolite and bentonite.
เมล็ดพันธุ์ยาสูบเป็นเมล็ดที่มีขนาดเล็กมาก จึงส่งผลให้อัตราการงอกของต้นกล้าไม่สม่ำเสมอ และเกิดโรคได้ง่าย อีกทั้งสิ้นเปลื้องเมล็ดยาสูบจำนวนมาก ดังนั้น การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลของวัสดุพอกเมล็ด ที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพหลังการพอกเมล็ดพันธุ์ยาสูบ โดยทำการทดลองที่ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ โรงงานปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยนำเมล็ดพันธุ์ยาสูบพันธุ์เวอร์จิเนียมาพอกร่วมกับวัสดุพอก 3 ชนิดคือ pumice zeolite และ bentonite ซึ่งวัสดุประสานคือ hydroxyl propyl methylcellulose (HPMC) ความเข้มข้น 4 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก พบว่าเมล็ดพันธุ์ที่พอกด้วย pumice มีความสามารถในการละลายน้ำดีที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับวัสดุพอกชนิดอื่น และมีความสม่ำเสมอของเมล็ดที่พอกสูงถึง 91 เปอร์เซ็นต์ ส่วนความงอก และความเร็วในการงอกทั้งในสภาพห้องปฏิบัติการและสภาพเรือนทดลองมากกว่าเมล็ดที่พอกด้วย zeolite และ bentonite เมื่อนำเมล็ดที่พอกด้วย pumice มาเร่งอายุพบว่า เมล็ดพันธุ์มีเปอร์เซ็นต์การงอก และความเร็วในการงอกจากการทดสอบทั้ง 2 สภาพดีกว่าการพอกด้วยวัสดุชนิดอื่น จากการทดลองนี้สรุปได้ว่า Pumice มีคุณสมบัติที่เหมาะสมต่อการขึ้นรูปการพอกเมล็ดพันธุ์ยาสูบ และทำให้เมล็ดพันธุ์ มีความงอกและความแข็งแรงดีกว่าการพอกด้วยวัสดุชนิดอื่น
|
Tipo: |
PhysicalObject
|
Idioma: |
Thailandês
|
Identificador: |
ISSN 0125-0485
http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5728
Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2013, V. 41, Suppl. 1, p. 257-262
แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2556, ปีที่ 41, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 257-262
|
Direitos: |
ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
|
|