Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  106
País:  Thailand
Título:  ความสามารถในการห้ำและชีววิทยาของด้วงตัวห้ำ Stethorus indira kapur ต่อไรสามชนิด
Predation efficacy and biology of coccinellid beetle; stethorus indira kapur on three mite species
Autores:  Sirilak Lankaew
Nutcharee Siri
Data:  2015-06-11
Ano:  2013
Palavras-chave:  Predatory beetle
Stethorus indira kapur
Coccinellid beetle
Predators
Mulberry red mite
Tetranychus truncatus
Two spotted spider mite
African red mite
Pest control
Biological control
Biological characteristic
Predation efficacy
Tetranychus urticae
Eutetranychus africanus
ด้วงตัวห้ำ
ไรแดงหม่อน
ไรสองจุด
ไรแดงแอฟริกัน
การควบคุมศัตรูพืช
การควบคุมโดยชีววิธี
ลักษณะทางชีววิทยา
ประสิทธิภาพการห้ำ
Resumo:  The efficacy of Stethorus indira Kapur feeding on three mite species, mulberry red mite; Tetranychus truncatus Ehara, two spotted spider mite; Tetranychus urticae Koch and african red mite; Eutetranychus africanus Tucker were conducted under laboratory condition. The results showed that the 4th stage larva S. indira was able to consume African red mite more than adult stage. The 4th stage larva consumed eggs and nymphs of 148.85 eggs and 49.75 nymphs per day. The adult stage consumed 146.85 eggs and 49.35 nymphs per day followed by two spotted spider mite but not significantly to mulberry red mite. The biological characteristic of S. indira Kapur feeding on african red mite was higher than mulberry red mite and there were the survival rate, sex ratio, fecundity and longevity, net reproductive rate, capacity of increase, finite rate of increase and cohort generation time

การศึกษาความสามารถของด้วงตัวห้ำ Stethorus indira Kapur ในการกินเหยื่อ 3 ชนิด คือ ไรแดงหม่อน Tetranychus truncatus Ehara, ไรสองจุด Tetranychus urticae Koch และไรแดงแอฟริกัน Eutetranychus africanus Tucker พบว่า ด้วงตัวห้ำ S. indira Kapur ระยะหนอนวัย 4 กินไรแดงแอฟริกันได้มากที่สุด โดยกินระยะไข่และวัยรุ่นได้เท่ากับ 148.85 ฟองต่อวัน และ 49.75 ตัวต่อวัน ส่วนตัวเต็มวัยกินได้มากที่สุดเท่ากับ 146.85 ฟองต่อวัน และ 49.35 ตัวต่อวัน รองลงมาคือ ไรสองจุดแต่ไม่แตกต่างทางสถิติกับไรแดงหม่อน และด้วงตัวห้ำ S. indira Kapur ที่เลี้ยงด้วยไรแดงแอฟริกันมีอัตราการรอดชีวิต สัดส่วนเพศ การวางไข่ต่อวันและต่อตัว อายุขัย อัตราการขยายพันธุ์สุทธิ อัตราการเพิ่มโดยพันธุกรรม อัตราการเพิ่มที่แท้จริง ชั่วอายุขัยของกลุ่มสูงกว่าการเลี้ยงด้วยไรแดงหม่อน
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5807

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2013, V. 41, Suppl. 1, p. 159-164

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2556, ปีที่ 41, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 159-164
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional