Registro completo |
Provedor de dados: |
106
|
País: |
Thailand
|
Título: |
ผลของการทำ Osmopriming ด้วยสารเคมีต่างกันต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศลูกผสม
Effects of osmopriming with chemicals on changes in hybrid tomato seed quality
|
Autores: |
Boonmee Siri
Orranut Diumkhunthod
|
Data: |
2015-05-21
|
Ano: |
2013
|
Palavras-chave: |
Tomato seed
Hybrid varieties
Seed priming
Seed enhancement
Accelerate aging
Seed quality
Germination percentage
Seed vigour
Osmopriming
Chemical
PEG 6000
Polyethylene glycol
Potassium nitrate
KNO3
Potassium dihydrogen phosphate
KH2PO4
Vitamin c
เมล็ดพันธุ์มะเขือเทศ
พันธุ์ลูกผสม
การเตรียมงอก
สารเคมี
การแช่เมล็ด
การเร่งอายุเมล็ดพันธุ์
การกระตุ้นการงอก
คุณภาพเมล็ดพันธุ์
อัตราการงอกของเมล็ด
ความแข็งแรงของเมล็ด
|
Resumo: |
The objective of this study was to investigatethe effects of osmopriming method with different chemicals on changes in quality of hybrid tomato seeds. The experiment was conducted at the Seed Quality Testing Laboratory Seed Processing Plant, Faculty of Agriculture, KhonKaen University. The tomato seeds were soaked in water plus PEG 6000 (-1.5 MPa) in combination with KNO3 (1% and 2%), KH2PO4 (1% and 2%) and vitamin C (1% and 2%) at 15°C for 5 days. After priming process, seed moisture content was subsequently reduced to their initial by therotating modified air seed dryer machine (Model KKU 40-2). Then, seed quality of primed seeds was tested quality. The results showed that primed seeds with PEG 6000 (-1.5 MPa)with vitamin C 2% had the highest germination percentage and speed of germination under laboratory and greenhouseconditions.
การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศลูกผสมโดยการทำosmoprimingด้วยสารเคมีชนิดต่างๆ โดยดำเนินการทดลอง ณ ห้องปฏิบัติการเมล็ดพันธุ์ โรงงานปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยการทำ osmoprimingด้วย PEG 6000 (-1.5 MPa) ร่วมกับ KNO3 (1% และ 2%), KH2PO4 (1% และ 2%) และ vitamin C (1% และ 2%) ควบคุมอุณหภูมิที่ 15 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 5 วัน หลังจากนั้นนำเมล็ดมาลดความชื้นให้ใกล้เคียงกับความชื้นตั้งต้น ด้วยเครื่องลดความชื้นแบบลมแห้ง และการหมุนเหวี่ยง รุ่น KKU 40-2 แล้วนำเมล็ดมาตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ในลักษณะต่างๆ คือ ความงอก และความเร็วในการงอก ผลการทดลองพบว่า การทำ osmoprimingร่วมกับวิตามินซี 2% ทำให้ความงอก และความเร็วในการงอกของมะเขือเทศสูงที่สุดเมื่อเพาะเมล็ดในสภาพห้องปฏิบัติการและสภาพเรือนทดลอง
|
Tipo: |
PhysicalObject
|
Idioma: |
Thailandês
|
Identificador: |
ISSN 0125-0485
http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5730
Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2013, V. 41, Suppl. 1, p. 244-249
แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2556, ปีที่ 41, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 244-249
|
Direitos: |
ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
|
|