Registro completo |
Provedor de dados: |
Thai Agricultural
|
País: |
Thailand
|
Título: |
การเปรียบเทียบชนิดของพอลิเมอร์ต่อการเคลือบเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศลูกผสม
Comparison of different types of polymers for hybrid tomato seed coating
|
Autores: |
Kittiwan Klarod
Boonmee Siri
|
Data: |
2015-05-20
|
Ano: |
2014
|
Palavras-chave: |
Tomato seeds
Seed coating
Polymer
Hybrid tomato seed
Seed enhancement
Seed coating method
Seed technology
Seed quality
Intermediate technology
Germination percentage
Seed vigour
เมล็ดพันธุ์มะเขือเทศ
การเคลือบเมล็ดพันธุ์
สารพอลิเมอร์
สารเคลือบ
พันธุ์ลูกผสม
เทคโนโลยีทางเมล็ดพันธุ์
การยกระดับคุณภาพเมล็ดพันธุ์
อัตราการงอกของเมล็ดพันธุ์
ความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์
|
Resumo: |
A study of different type and proportion of polymers were investigated on tomato seed quality. This experiment was conducted at seed technology laboratory, Seed Processing Plant, Faculty of Agriculture, Khon Kaen University. Using three polymers type polyvinyl pyrrolidone (PVP-K30), polyvinyl pyrrolidone (PVP-K90) and polyvinyl alcohol (PVA). This experiment consisted of 2 parts. The first part of experiment was to study effect of type and proportion of polymers as a film former on viscosity, dissolution of film-sheet. The second part, study the effect of seed coating substances on tomato seed quality. Seven treatments were compared: uncoated seed, seed coating with PVP-K30, PVP-K90 and PVA. The tomato seeds were coated by centri seed coater model SKK 10. Then the coated seeds were determined seed quality consisting of germination and speed of germination under laboratory and greenhouse conditions. The results were shown that the coated seeds, with PVP-K90 had higher germination percentage and speed of germination than uncoated seeds tested under laboratory and greenhouse conditions.
การศึกษาผลของชนิด และ สัดส่วนของพอลิเมอร์ที่แตกต่างกันต่อการเคลือบ และ คุณภาพเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศ ดำเนินการทดลอง ณ ห้องปฏิบัติการเมล็ดพันธุ์ โรงงานปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นโดยใช้พอลิเมอร์ 3 ชนิด คือ Polyvinyl pyrrolidone (PVP-K30), Polyvinyl pyrrolidone (PVP-K90) และ Polyvinyl alcohol (PVA)แบ่งการทดลองออกเป็น 2 ส่วน คือการหาชนิดและสัดส่วนของพอลิเมอร์ ที่ใช้เป็นสารก่อฟิล์ม โดยตรวจสอบ ค่าความหนืด การละลายของแผ่นฟิล์ม และตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศหลังเคลือบโดยมีวิธีการเคลือบเมล็ด7 วิธี คือ เมล็ดที่ไม่เคลือบสาร, เมล็ดที่เคลือบด้วย PVP-K30, PVP-K90และPVA ใช้อัตรา 2, 3 และ 4 กรัมโดยน้ำหนัก การเคลือบใช้เครื่องเคลือบแบบจานหมุน รุ่น SKK 10 จากนั้นตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์หลังการเคลือบ คือ ความงอกในห้องปฏิบัติการ และ ในเรือนทดลอง และความเร็วในการงอก จากผลการทดลองพบว่าการใช้ PVP-K90 เป็นสารเคลือบทำให้เมล็ดมะเขือเทศมีความงอกสูงกว่าเมล็ดพันธุ์ที่ไม่ได้เคลือบทั้งในห้องปฏิบัติการและ เรือนทดลอง
|
Tipo: |
PhysicalObject
|
Idioma: |
Thailandês
|
Identificador: |
ISSN 0125-0485
http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5723
Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2014, V. 42, Suppl. 1, p. 97-103
แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2557, ปีที่ 42, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 97-103
|
Direitos: |
ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
|
|