Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ผลของการพอกเมล็ดพันธุ์ร่วมกับฮอร์โมน Gibberellin และ indole-3-butyric acid ต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ยาสูบพันธุ์เวอร์จิเนียร์
[Effects of seed pelleting with Gibberellin and indole-3-butyric acid of virginia tobacco seed on seed quality]
Autores:  Boonmee Siri
Suriya Trachoo
Data:  2015-05-20
Ano:  2014
Palavras-chave:  Tobacco seed
Virginia variety
Seed pelleting
Adhesive materials
Gibberellin
Indole-3-butyric acid
GA
IBA
Hormones
Filler materials
Aging seed
Germination percentage
Seed vigour
เมล็ดพันธุ์ยาสูบ
พันธุ์เวอร์จิเนียร์
การพอกเมล็ดพันธุ์
ฮอร์โมน
จิบเบอเรลลิน
ออกซิน
วัสดุประสาน
การเร่งอายุเมล็ดพันธุ์
อัตราการงอกของเมล็ดพันธุ์
ความแข็งแรงของเมล็ดพันธุ์
Resumo:  Tobacco seeds are very small. This causes difficulty in sowing and resulted in uneven seelings.This experiment aimed to study types and concentrations of hormones for proportion of pelleting tobacco seeds. The experiment was conducted at laboratory of seed quality testing section, Seed Processing Plant, Faculty of Agriculture, Khon Kaen University. The Virginia tobacco seeds were pelleted with pumice, fillers material at the rate 150 g and used hydroxypropyl methylcellulose (HPMC) with concentrations 4 percent by weight as binder material. Two types of hormones, Gibberellin (GA) and Indoie-3-butyric acid (IBA) with four different rates 1, 2, 3, and 4 ml per 3 g of tobacco seeds were used. The tobacco seeds were pelleted by pellet-machine model SKK10. The results were shown that, pelleted seeds with hormone GA at the rate of 3 ml had the highest germination percentage and speed of germination of 98 percent and 14.05 plants per day, respectively and this was significantly different from unpelleted seed. Exposed pelleted seeds to aging condition showed that pelleted seeds with hormone GA at the rate of 3 ml had the highest of germination and speed of germination compared toother pelleting methods.

เมล็ดพันธุ์ยาสูบเป็นเมล็ดพันธุ์พืชที่มีขนาดเล็กมาก จึงส่งผลให้เกิดความยุ่งยากต่อการเพาะปลูก ต้นกล้าที่งอกจึงมีขนาดเล็กและไม่มีความสม่ำเสมอ ดังนั้น การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาชนิดและอัตราส่วนของฮอร์โมนที่เหมาะสมสำหรับการพอกเมล็ดพันธุ์ยาสูบ โดยทำการทดลองที่ห้องปฏิบัติการวิทยาการเมล็ดพันธุ์ อาคารปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยนำเมล็ดยาสูบพันธุ์เวอร์จิเนียร์ มาพอกด้วยวัสดุพอกคือ Pumice อัตรา 150 กรัม และใช้ hydroxypropyl methylcellulose (HPMC) ความเข้มข้น 4 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักเป็นวัสดุประสานพอกเมล็ดร่วมกับฮอร์โมนพืช 2 ชนิด คือ Gibberellin (GA) และ Indoie-3-butyric acid (IBA) ฮอร์โมนแต่ละชนิดใช้ความเข้มข้นต่างกัน 4 ระดับ คือ 1, 2, 3 และ 4 มิลลิลิตรต่อเมล็ดพันธุ์ยาสูบ 3 กรัม ทำการพอกเมล็ดยาสูบด้วยเครื่องพอกเมล็ดพันธุ์รุ่น SKK10 ซึ่งผลการศึกษาพบว่าการพอกเมล็ดยาสูบร่วมกับฮอร์โมน GA อัตรา 3 มิลลิลิตร ทำให้เมล็ดมีความงอกและความเร็วในการงอกดีที่สุด 98 เปอร์เซ็นต์ และ 14.05 ต้นต่อวัน ตามลำดับเมื่อตรวจสอบในสภาพห้องปฏิบัติการมีความแตกต่างกันทางสถิติกับเมล็ดพันธุ์ที่ไม่ได้พอก การตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์หลังการเร่งอายุ พบว่าเมล็ดพันธุ์ที่พอกด้วยฮอร์โมน GA อัตรา 3 มิลลิลิตร มีความงอกและความเร็วในการงอกในสภาพห้องปฏิบัติการและสภาพเรือนทดลองดีกว่าเมล็ดพันธุ์ที่พอกด้วยวิธีอื่นๆ
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5726

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2014, V. 42, Suppl. 1, p. 104-109

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2557, ปีที่ 42, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 104-109
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional