Registro completo |
Provedor de dados: |
Thai Agricultural
|
País: |
Thailand
|
Título: |
การใช้ละหุ่งสายพันธุ์การค้าเพื่อเพิ่มผลผลิตไหมอีรี่
Use of castor commercial line for increasing yield of eri silkworm
|
Autores: |
Sivilai Sirimungkararat
Weerasak Saksirirat
Duenpen Wongsorn
Sumeth Maskhao
|
Data: |
2015-06-10
|
Ano: |
2013
|
Palavras-chave: |
Castor
Commercial line
Varieties
Rearing
Eri silkworm
Egg yields
Survival percentage
Pupa weight
Shell weight
Hatching egg
ใบละหุ่ง
สายพันธุ์การค้า
พันธุ์
การเลี้ยงไหม
ไหมอีรี่
ผลผลิตไข่
เปอร์เซ็นต์เปลือกรัง
เปอร์เซ็นต์น้ำหนักรัง
เปอร์เซ็นต์ไข่ฟัก
น้ำหนักดักแด้
|
Resumo: |
Eri silkworm (Samia ricini D.) is an important wild silkmoth of world textile industry, this study experiments on the increasing yield of eri silkworm using 3 commercial lines of castor (Ricinus communis) TCO101, 207 and 208 in comparison with indigenous castor line (InL) and CaKKU1 line. The eri silkworm fed with each line had similar period of life cycle lasting 52-72 days. Survival percentage of eri silkworm when fed with castor TCO101 and CaKKU1 was the highest with 93.33% (larva-adult) and statistically different (P<0.05) to others. Using TCO101, the eri silkworm yields such as 5th instar larval weight, fresh cocoon weight, pupa weight, shell weight,percent of cocoon shell, total shell weight, fresh cocoon weight/10,000 larvae were 8.2530 g, 3.3799 g, 2.8770 g, 0.4772 g, 15.06%, 13.84 g and 33.80 kg, respectively. These yields were significantly different (P<0.05) with other castor lines. Only shell percentage and fresh cocoon weight/10,000 larvae were not significantly different in all food plant feedings. According to egg yields, feeding with TCO101 exhibited the most yields of 444.39 eggs/moth, 88.36% hatching eggs, 4,888.28 oftotal eggs and 4,442.89 eggs of total hatching eggs, which significantly different (P<0.05) to others. Only hatching percentage was not statistically significant. The results indicated that castor TCO101 is the most suitable line to use as eri food plant for increasing yield towards eri industry.
ไหมอีรี่ (Samia ricini D.) เป็นไหมป่าที่มีความสำคัญชนิดหนึ่งต่อการผลิตอุตสาหกรรมสิ่งทอของโลก ในการศึกษาเพื่อเพิ่มผลผลิตด้วยใบละหุ่งสายพันธุ์การค้าจำนวน 3 สายพันธุ์ คือ TCO101, 207 และ 208 เปรียบเทียบกับใบละหุ่งสายพันธุ์ท้องถิ่น (Indigenous line, InL) และสายพันธุ์ CaKKU1 พบว่าไหมอีรี่ที่เพาะเลี้ยงด้วยละหุ่งแต่ละสายพันธุ์มีวงจรชีวิตที่ใกล้เคียงกันอยู่ระหว่าง 52-72 วันส่วนเปอร์เซ็นต์การอยู่รอดนั้น การเลี้ยงด้วยละหุ่งพันธุ์ TCO 101 และ CaKKU1 มีอัตราการอยู่รอดตั้งแต่ระยะหนอน-ตัวเต็มวัยมากที่สุด (93.33%) ซึ่งแตกต่างทางสถิติ (P<0.05) กับการเพาะเลี้ยงด้วยละหุ่งสายพันธุ์อื่น เมื่อเปรียบเทียบผลผลิต พบว่า ในการเพาะเลี้ยงไหมอีรี่ด้วยละหุ่งพันธุ์ TCO101 ให้ค่าเฉลี่ยผลผลิตต่างๆ ได้แก่ น้ำหนักหนอนวัย 5 น้ำหนักรังสด น้ำหนักดักแด้ น้ำหนักเปลือกรัง เปอร์เซ็นต์เปลือกรัง น้ำหนักเปลือกรังรวมและผลผลิตรังสด/หนอน 10,000 ตัวมีค่าเท่ากับ 8.2530 กรัม 3.3799 กรัม 2.8770 กรัม 0.4772 กรัม 15.06% 13.84 กรัม และ 33.80 กิโลกรัม ตามลำดับ ซึ่งผลผลิตที่ได้มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P<0.05) กับการเลี้ยงด้วยละหุ่งสายพันธุ์อื่นๆ เฉพาะเปอร์เซ็นต์เปลือกรังและน้ำหนักรังสด/หนอน 10,000 ตัว เท่านั้นที่ทุกพืชอาหารไม่มีความแตกต่างกัน สำหรับผลผลิตไข่นั้นการเพาะเลี้ยงด้วยละหุ่งสายพันธุ์ TCO 101 ยังคงให้ค่าสูงที่สุดเช่นกัน โดยมีค่าเท่ากับ 444.39 ฟอง (ไข่/แม่), 88.36% (ไข่ฟัก) และ 4,888.28 ฟอง (ไข่ทั้งหมด) และ 4,442.89 ฟอง (ไข่ฟักทั้งหมด) ซึ่งแตกต่างทางสถิติ (P<0.05) กับการเพาะเลี้ยงด้วยสายพันธุ์อื่น เฉพาะเปอร์เซ็นต์ไข่ฟักเท่านั้นที่ในทุกพืชอาหารไม่มีความแตกต่างกันแสดงให้เห็นว่าละหุ่งสายพันธุ์ TCO 101 นี้มีความเหมาะสมมากที่สุด ในการนำไปใช้เพาะเลี้ยงและการเพิ่มผลผลิตไหมอีรี่สู่อุตสาหกรรม
|
Tipo: |
PhysicalObject
|
Idioma: |
Thailandês
|
Identificador: |
ISSN 0125-0485
http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5805
Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2013, V. 41, Suppl. 1, p. 185-191
แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2556, ปีที่ 41, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 185-191
|
Direitos: |
ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
|
|