Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ผลการใช้ใบยอผงเป็นสารเสริมในอาหารต่อปริมาณการกินได้ และผลผลิตน้ำนมในโคนม
Effects of using indian mulberry (Morinda citrifolia linn.) as feed additives on feed intake and milk production in dairy cows
Autores:  Watchanapong Yupakarn
Virote Pattarajinda
Pronchai Lowilai
Srisomporn Priprem
Data:  2015-06-05
Ano:  2013
Palavras-chave:  Dairy cows
Holstein friesian varieties
Indian mulberry
Morinda citrifolia
Herbal plants
Antibiotic
Milk production
Milk yield
Milk composition
โคนม
พันธุ์โฮลสไตน์ฟรีเชี่ยน
ใบยอ
สมุนไพร
การเสริมอาหาร
สูตรอาหารสัตว์
สารทดแทนยาปฏิชีวนะ
ประสิทธิภาพการย่อยได้
ผลต่อการกินได้
ผลผลิตน้ำนม
องค์ประกอบน้ำนม
Resumo:  Dry herbal plants were introduced to be used as animal feed additive in order to replace antibiotic medicines. The aim of this study was to determine the effects of using Indian mulberry as a feed additive on feed intake and milk production in dairy cows. Eight crossbred Holstein Friesian with average 454.75 ± 52.2 kg body weight and 146 ± 41.15 days in milk were used in the study. The experimental design was arranged in 4x4 Replicated Latin square design (21-d period). Animals were fed with total mixed ration (TMR) diet base on rice straw as roughage source. The dietary treatments were supplementation Indian mulberry at level 0, 7.5, 10.0 and 12.5 g/kgDM The results showed that there were no effects on DMI, milk yield and milk composition. Data regarding rumen fermentation will be subsequently reported

สมุนไพรมีความสามารถในการใช้เป็นสารทดแทนยาปฏิชีวนะในอาหารสัตว์ การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการใช้ใบยอผงต่อปริมาณการกินได้และผลผลิตน้ำนมในโคนม โดยทำการศึกษาในโคนมพันธุ์โฮลสไตน์ฟรีเชี่ยนจำนวน 8 ตัว น้ำหนักตัวเฉลี่ย 454.75 ± 52.2 กิโลกรัม และมีวันให้นมเฉลี่ย 146 ± 41.15 วัน วางแผนการทดลอง 4x4 เรปพิเคเตดลาตินสแควร์ ในแต่ละช่วงของการทดลองใช้เวลา 21 วัน โดยโคทดลองได้รับอาหารสูตรรวมที่มีฟางข้าวเป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก อาหารแต่ละสูตรมีระดับโปรตีน 15 % ในอาหารแต่ละสูตรจะใช้ระดับของใบยอผง 4 ระดับ ดังนี้ 0, 7.5, 10.0 และ 12.5 กรัมต่อกิโลกรัมสิ่งแห้ง ตามลำดับ และให้ได้รับน้ำดื่มเต็มที่ พบว่าการเสริมใบยอผงนั้นไม่มีผลต่อการกินได้ ผลผลิตและองค์ประกอบของน้ำนม ส่วนการย่อยได้และผลผลิตที่ได้จากการหมักย่อยภายในกระเพาะหมักนั้นจะได้มีการนำเสนอในครั้งต่อไป
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5788

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2013, V. 41, Suppl. 1, p. 96-99

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2556, ปีที่ 41, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 96-99
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional