Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  พื้นที่ปลูกข้าวน้ำลึกของประเทศไทย: สถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต
Deepwater rice area in Thailand: Recent situation and trend
Autores:  Chitnucha Buddhaboon
Benjamas Rossopa
Peera Dungsoongnern
Panya Romyen
Kingkaew Kunket
Data:  2015-01-28
Ano:  2014
Palavras-chave:  Deepwater rice
Rice production area
Rice varieties
Thailand
ข้าวน้ำลึก
พื้นที่ปลูก
พันธุ์
ประเทศไทย
Resumo:  Research on evaluation of deepwater rice area in Thailand: resent situation and future trend was conducted in 2013. Secondary data collection from the Department of Agricultural Extenion and simple field survey were basic methodology of this research. The objective of the study was to evaluate the deepwater rice area and trend of this production system in Thailand. The research found that in 2012 The deepwater rice covered an area of 388,977 rai (6.25 rai equal to 1 hectare) scatter in 46 provinces. The top five provinces of deepwater rice production area were Prachin Buri, Nakhon Nayok, Pra Nakorn Si Ayutthaya, Chaiyaphum and Nakhon Ratchasima covering and area of 110,509; 60,652; 55,367; 43,175; and 37,057 rai, respectively. The most favorable rice variety was Khao Leuang covering an area of 130,730 rai. It is a traditional rice variety. The literature review and the simple servey by Prachin Buri Research team, found that deepwater rice production area has been declining. Some of which was tranformed to grow irrigated rice. The study conclud that recently deepwater rice production system in Thailand covers an area of 388,977 rai. Prachin Buri provence is the biggest deepwater rice production area in Thailand. However, overall this rice production system is continue declreasing since 1992.

การประเมินพื้นที่ปลูกข้าวน้ำลึกของประเทศไทย สถานการณ์ที่เป็นอยู่ปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต ดำเนินการในช่วงปี 2556 ด้วยการการใช้ข้อมูลมือสองจากการขึ้นทะเบียนของเกษตรกร ปี 2554 ของกรมส่งเสริมการเกษตรและการสุ่มสำรวจในพื้นที่เป้าหมาย งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินพื้นที่ปลูกข้าวน้ำลึกของประเทศไทย พบพื้นที่ปลูกข้าวน้ำลึกในพื้นที่ 46 จังหวัด 162 อำเภอ 621 ตำบล มีเกษตรกรปลูกข้าวน้ำลึกทั้งประเทศ จำนวน 20,315 ครอบครัว มีพื้นที่รวม 389,040 ไร่ จังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุด 5 อันดับแรกคือ จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดนครนายก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดชัยภูมิ และจังหวัดนครราชสีมา โดยมีพื้นที่ปลูกข้าวน้ำลึกจำนวน 110,509 60,652 55,367 43,175 และ 37,057 ไร่ ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่ามีพันธุ์ข้าวน้ำลึกทั้งพันธุ์ที่ส่งเสริมและพันธุ์พื้นเมืองที่เกษตรปลูกจำนวนทั้งหมด จำนวน 14 พันธุ์ พันธุ์ข้าวน้ำลึก ที่ปลูกมากที่สุดคือ 5 อันดับแรกคือ ข้าวเหลือง พลายงามปราจีนบุรี ขาวหลวง ขาวกอเดียว และเล็บมือนาง 111 ซึ่งแต่ละพันธุ์มีพื้นที่ปลูก 130,730 65,684 50,572 20,614 และ 22,991 ไร่ตามลำดับ อย่างไรก็ตาม จากการสำรวจเบื้องต้น ของทีมวิจัยของศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันตกและภาคตะวันออก พบว่าหลายพื้นที่เกษตรกร ปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกข้าวน้ำลึกมาปลูกข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง สอดคล้องกับการสำรวจข้อมูลสามครั้งที่ผ่านมา จากการศึกษาครั้งนี้จึงสามารถสรุปได้ว่า พื้นที่ปลูกข้าวน้ำลึกของประเทศไทยในปัจจุบัน มีจำนวน 388,977 ไร่ โดยมีพื้นที่ปลูกมากที่สุดที่จังหวัดปราจีนบุรี และพื้นที่ปลูกข้าวน้ำลึกมีแนวโน้มลดลง
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5639

[Proceeding of rice research conference 2013: Rice research center groups in central, eastern and western region], Pathum Thani (Thailand), p. 140-150

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการข้าว กลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคกลาง ตะวันออก และ ตะวันตก ประจำปี 2556, ปทุมธานี, หน้า 140-150
Formato:  268 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional