Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  อิทธิพลด้านการจัดการต่อประสิทธิภาพการผลิตข้าวเหนียว ในจังหวัดมหาสารคาม
Effect of management factors on glutinous rice production efficiency in Maha Sarakham
Autores:  Orawan Srisompun
Suparat Chitchamnong
Sakunkarn Simla
Naris Sinsiri
Wantana Sinsiri
Data:  2014-06-09
Ano:  2013
Palavras-chave:  Glutinous rice
Production efficiency
Management characteristics
Stochastic frontier analysis
ข้าวเหนียว
ประสิทธิภาพการผลิต
ปัจจัยการผลิต
การวิเคราะห์ขอบเขตเชิงเฟ้นสุ่ม
พื้นที่นาน้ำฝน
รูปแบบการจัดการฟาร์ม
Resumo:  This study aims to measure the technical efficiency score and management factors that affect glutinous rice production of farmers in rainfed area of Maha Sarakham Province. Cross-section data of wet season farmers in Maha Sarakham for 2011/12 crop year is used by purposive sampling. There are two soil groups, soil group no. 24 and no.40 totaling 120 household samples. The study uses Stochastic Frontier Production Function indicated that human labour, machine labour, fertiliser and seeds that are the main factors in glutinous rice production and the glutinous rice yield in the area exhibit increasing returns to scale. The technical efficiency score show that farmers can grow glutinous rice 43.13% lower than their highest potential. Hence farmers can increase their productive efficiency through improvements in the structure of labour usage and management characteristics using control principles in the production of glutinous rice. Control principles include the determination of standards in the production process, measuring the success of the work against determined standards, having financial recording system for all processes and considering the way to improve and develop quality of rice output. These will help increase farm’s output efficiency

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับประสิทธิภาพเชิงเทคนิคและลักษณะทางการจัดการที่มีผลต่อการผลิตข้าวเหนียวของเกษตรกรในพื้นที่นาน้ำฝนของจังหวัดมหาสารคาม โดยใช้ข้อมูลภาคตัดขวางของเกษตรกรในฤดูนาปีของจังหวัดมหาสารคาม ปีการเพาะปลูก 2554/55 ทำการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามกลุ่มชุดดินที่สำคัญในจังหวัด 2 กลุ่มชุดดิน คือ กลุ่มชุดดินที่ 24 และ 40 รวมจำนวนตัวอย่าง 120 ครัวเรือน โดยใช้สมการการผลิตขอบเขตเชิงเฟ้นสุ่ม ผลการประมาณค่า พบว่าปริมาณแรงงานคน แรงงานเครื่องจักร ปุ๋ยและเมล็ดพันธุ์ที่ใช้เป็นปัจจัยสำคัญต่อผลผลิตข้าวเหนียวในพื้นที่ศึกษาและการผลิตข้าวเหนียวในพื้นที่มีผลตอบแทนต่อขนาดเพิ่มขึ้น การวิเคราะห์ค่าระดับประสิทธิภาพเชิงเทคนิค พบว่าเกษตรกรผลิตข้าวเหนียวได้ต่ำกว่าระดับศักยภาพสูงสุด 43.13% ดังนั้น เกษตรกรสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตได้โดยการปรับปรุงปัจจัยการผลิตสำคัญ ได้แก่ การปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้แรงงาน และลักษณะทางการจัดการโดยใช้หลักการควบคุมในการผลิตข้าวเหนียว ประกอบด้วยการกำหนดมาตรฐานของการทำกิจกรรมต่างๆ ในกระบวนการผลิต การวัดผลสำเร็จของงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ การมีระบบการบันทึกทางการเงินในงานหรือกิจกรรมต่างๆ และการพิจารณาวิธีการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพของผลผลิตข้าว จะช่วยยกระดับประสิทธิภาพการผลิตของฟาร์มได้
Tipo:  Collection
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5579

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2013, V. 41, Suppl. 1, p. 699-705

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2556, ปีที่ 41, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 699-705
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional