Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การใช้กากมันสำปะหลังจากการผลิตเอทานอลหมักยีสต์ เพื่อเป็นอาหารในโครีดนม
Using fermented cassava ethanol byproducts with yeast in the diet of lactating dairy cows
Autores:  Supakit Sunato
Virote Pattarajinda
Pronchai Lowilai
Ngarmnit Nontaso
Data:  2015-06-09
Ano:  2013
Palavras-chave:  Dairy cow
Lactating
Cassava ethanol byproducts
Saccharomyces cerevisiae
Feed fortification
Feed intake
Milk production
Milk composition
โคนม
ช่วงรีดนม
กากมันสำปะหลัง
ของเหลือจากการผลิต
เอทานอลหมักยีสต์
การให้อาหารสัตว์
สูตรอาหาร
ปริมาณการกินได้
การเจริญเติบโต
ผลผลิตน้ำนม
องค์ประกอบน้ำนม
Resumo:  The ethanol production often uses cassava as energy source for their production. The waste product can help improve the quality before reuse as animal feed. The objective of this study was to determine the effect of fermented cassava ethanol byproducts with yeast (Saccharomyces cerevisiae) on feed efficiency and milk production of dairy cattle. Twelve Holstein Friesian crossbreds (405.4 ± 43.9 kg BW) with an average milk yield in 10.2 ±1.2 kg/d were used. The treatment were allocated into Randomize completely block design (RCBD) that consisted of four levels of fermented cassava ethanol byproducts with yeast as level as 0, 25, 35 and 45% of DM basis in total mixed ration (TMR) diet based on Ruzi grass as roughages source. The results showed that dry matter intake (14.2, 15.4, 11.4 and 7.8 kgDM/d, respectively), body weight change and milk yield (10.8, 11.1, 9.9 and 8.1 kg/d, respectively) at level 0 and 25% of cassava ethanol byproducts fermented with yeast had higher than 35 and 45% of treatments (P<0.05), while milk composition were not significant different (P>0.05). Thus, the cassava ethanol byproducts fermented with yeast at level 25% could be used for dairy cows feeding

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้กากมันสำปะหลังจากการผลิตเอทานอลหมักยีสต์ Saccharomyces cerevisiae ในสูตรอาหารโคนมต่อประสิทธิภาพการใช้อาหาร และการให้ผลผลิตน้ำนม โดยใช้โคลูกผสมโฮลสไตน์ฟรีเชี่ยน จำนวน 12 ตัว มีน้ำหนักตัวเฉลี่ย 405.4 ± 43.9 กิโลกรัม และมีผลผลิตน้ำนมเฉลี่ย 10.2 ±1.2 กิโลกรัมต่อวันใช้แผนการทดลองแบบบล็อกสมบูรณ์ (RCBD) อาหารทดลองมี 4 สูตร ตามระดับของกากมันสำปะหลังจากการผลิตเอทานอลหมักยีสต์คือ 0, 25, 35 และ 45 % ในอาหารสูตรรวม ที่มีหญ้ารูซี่เป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก จากการศึกษาพบว่าโคที่ได้รับกากมันสำปะหลังจากการผลิตเอทานอลหมักยีสต์ในระดับ 0 และ 25% จะมีการกินได้ (14.2, 15.4, 11.4 และ 7.8 kgDM/d ตามลำดับ) การเปลี่ยนแปลงของน้ำหนัก และปริมาณผลผลิตน้ำนม (10.8, 11.1, 9.9 และ 8.1 kg/d ตามลำดับ) สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับในระดับ 35 และ 45% (P<0.05) ส่วนองค์ประกอบน้ำนมไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P<0.05) ดังนั้นสามารถใช้กากมันสำปะหลังจากการผลิตเอทานอลหมักยีสต์ในระดับ 25 % ในสูตรอาหารของโคนม
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5801

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2013, V. 41, Suppl. 1, p. 87-91

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2556, ปีที่ 41, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 87-91
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional