Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การปลูกพืชสลับในไร่อ้อยเพื่อปรับปรุงดินและเพิ่มผลผลิตอ้อย ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Crop rotation planting in sugarcane field for soil improvement and increasing cane yield in the northeast
Autores:  Putchanee Arpornrat
Usa Jakrarat
Data:  2014-03-13
Ano:  2012
Palavras-chave:  Sugarcane
Saccharum officinarum L.
Soil improvement
Economic return
Upland rice
Green manure
อ้อย
การปรับปรุงดิน
ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
ข้าวไร่
ปุ๋ยพืชสด
Resumo:  The experiment aimed to study the effects of crop rotation in sugarcane field during the last ratoon harvest and planting a new sugarcane crop, on soil improvement, increasing sugar yield and economic return in northeast Thailand. The effect of Jack bean (Canavalia ensiformis), sunn hemp (Crotalaria juncea), upland rice (Oryza saliva L.) fallowed as the rotation system. The experiment was a Randomize Complete Block Design with three replications and 7 treatments. They included T1) farmer’s method (fallow followed by sugarcane receiving chemical fertilizer control (15-15-15 at 50 kg/rai), T2) fallow followed by sugarcane receiving chemical fertilizer (16-16-16 at 25 kg/rai+22-8-10 at 25 kg/rai and compost fertilizer at 2 tons/rai), T3) sunn hemp planting as green manure followed by sugarcane, T4) sunn hemp planting for seed harvesting and then were ploughed and followed by sugarcane, T5) jack bean planting as green manure and followed by sugarcane, T6) jack bean planting for seed harvesting and then was ploughed after seed harvested and followed by sugarcane, and T7) upland rice planting and ploughed after seed harvested followed by sugarcane. Sugarcane in treatment 3-7 was applied fertilizer grade 15-15-15 at the rate of 50 kg/rai. This experiment conducted in a farmer field upland at Phulek village, Ban Phai district, Khon Kean province; soil group 41 (Ban phai soil series). The results showed that soil chemical properties were changed in the green manure treatments. The green manure treatments and the upland rice straw ploughed under treatment gave higher economic return compared to these of non-green manure treatments. Sugarcane growing in T7 gave the highest yield at 18.84 tons/rai while T5 gave 18.74 tons/rai. T7 treatment gave the benefit return of 2-year at 12,050.72 bath/rai while T5 gave 8,666.44 bath/rai. The result from the two-year experiment suggested that sugarcane farmers in northest Thailand should grow jack bean or upland rice as crop rotation in the sugarcane field in order to improve soil fertility and also increase the sugar cane yield. This will help sustain the soil for sugarcane production in the region

การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการปลูกพืชสลับ (พืชนำ) ในแปลงอ้อยในช่วงเก็บเกี่ยวอ้อยครั้งสุดท้าย(หลังรื้อแปลงอ้อย) ที่มีผลต่อการปรับปรุงดินและเพิ่มผลผลิตอ้อยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งศึกษาผลตอบแทนทางเศรษฐกจิ จากการนำ พชื ต่างชนดิ มาปลกู สลบั เพอื่ ทราบถงึ ความค้มุ ค่าในการปลกู พชื สลบั แต่ละชนดิ ได้แก่ ถวั่ พร้า ปอเทือ ง และข้าวไร่ก่อนการปลูกอ้อย ทั้งในแง่ของการปรับปรุงบำรุงดิน และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ โดยวางแผนการทดลองแบบ RCBD จำ นวน 3 ซ้ำ ประกอบด้วย 7 วธิ กี าร ได้แก่ 1) ปล่อยแปลงว่าง แล้วปลูก อ้อยตามและใส่ป๋ยุ เคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กก./ไร่ 2) ปล่อยแปลงว่าง แล้วปลูกอ้อยตามและใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-16 อัตรา 25 กก./ไร่ และสูตร 22-8-10 อัตรา 25 กก./ไร่ และปุ๋ยหมัก อัตรา 2 ตัน/ไร่ 3) ปลูกปอเทืองเป็นพืชปุ๋ยสด 1 crop แล้วปลูกอ้อยตาม 4) ปลูกปอเทือง (เก็บเมล็ดพันธุ์) 1 crop แล้วปลูกอ้อยตาม 5) ปลูกถั่วพร้าเป็นพืชปุ๋ยสด 1 crop แล้วปลูกอ้อยตาม 6) ปลูกถั่วพร้า (เก็บเมล็ดพันธุ์) 1 crop แล้วปลูกอ้อยตาม และ 7) ปลูกข้าวไร่ (ไถกลบตอซังหลังเก็บเกี่ยว) 1 crop แล้วปลูกอ้อยตามทุกวิธีการใช้อ้อยพันธุ์ K 88-92 โดยวิธีการที่ 3-7 ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กก./ไร่ เหมือนกัน โดยทำการทดลองในแปลงเกษตรกร ต.ภูเหล็ก อ.บ้านไผ่ จ.ขอนแก่น ทดลองในกลุ่มชุดดินที่ 41 (ชุดดินบ้านไผ่) ผลการทดลองพบว่า หลังจากทำการปลูกพืชสลับเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน แล้วพบว่าการไถกลบพืชปุ๋ยสด ทำให้สมบัติทางเคมีของดินดีขึ้นในทำนองเดียวกนั การไถกลบพืชป๋ยุ สด และไถกลบตอซัง ข้าวให้ผลตอบแทนสูงกว่าไม่มีการปลูก พืช ปุ๋ย สด กล่าวคือ วิธีการที่ 7 ให้ผลผลผลิตอ้อยปลูกสูงสุด เท่ากับ 18.84 ตัน/ไร่ รองลงมา คือวิธีการที่ 5 ให้ผลผลิตอ้อยเท่ากับ 18.74 ตัน/ไร่ เมื่อเปรียบเทียบผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบว่าเป็นไปในทำนองเดียวกัน คือ วิธีการที่ 7 ให้กำไรรวม 2 ปี เท่ากับ 12,050.72บาท/ไร่ และวิธีการที่ 5 ให้กำไรรวม 2 ปี เท่ากับ 8,666.44 บาท/ไร่ ดังนั้นผลจากการทดลอง 2 ปีที่ผ่านมาชี้ให้เห็นว่าควรแนะนำให้เกษตรกรที่ปลูกอ้อยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะในพื้นที่ดอน ปลูกพืชสลับ อาทิ ถั่วพร้า ในช่วงหลังจากรื้อตอเพื่อรอปลูกอ้อยใหม่ หรือปลูกข้าวไร่ ถ้าพื้นที่นั้นไม่แห้งแล้งจนเกินไป ซึ่งจะได้ประโยชน์ทั้งการเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน และช่วยเพิ่มผลผลิตอ้อยที่ปลูกตาม อีกทั้งยังเป็นการช่วยให้เกิดการใช้ทรัพยากรดินอย่างยั่งยืนอีกด้วย
Tipo:  Collection
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5565

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2012, V. 40, Suppl. 3, p. 163-170

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2555, ปีที่ 40, ฉบับพิเศษ 3, หน้า 163-170
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional