Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  106
País:  Thailand
Título:  การพัฒนาคำแนะนำการปลูกข้าวเฉพาะพื้นที่: สัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของข้าวที่นิยมปลูกในปัจจุบัน
Development of site specific recommendations for rice production: Rice genetic coefficient of popular rice variety
Autores:  Benjamas Rossopa
Chitnucha Buddhaboon
Kingkaew Kunket
Waraporn Wongboon
Kanlaya Sansen
Noppadol Prayoonsuk
Yuphin Rammani
Data:  2015-02-06
Ano:  2014
Palavras-chave:  Genetic coefficients
Non-photoperiod sensitive rice
Photoperiod sensitive rice
Rice modelling
CSM-CERES-Rice model GLUE
ข้าว
ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง
ข้าวไวต่อช่วงแสง
แบบจำลองการเจริญเติบโตของข้าว
การเจริญเติบโต
ผลผลิต
ค่าสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรม
โปรแกรม GLUE
Resumo:  Development of site specific recommendations for rice production; rice genetic coefficient (GC) of popular rice variety research was conducted in 2012 to 2013. The objective of the study was to evaluate the genetic coefficients of popular rice varieties which recently grown in Thailand. Five non-photoperiod sensitive rice varieties (RD29 RD31 Chainat 1 Suphan Buri 3 and Phitsanulok 2 were varied of planting date during the growing season. Three photoperiod sensitive rice varieties (RD6 KDML 105 and Lab Nok Pattani) were also varied planting date. Growth and development data sets were collected. The data sets needed for DSSATv4.5 CSM-CERES-Rice model operation and calibration were also collected and format to input into the model. GLUE genetic coefficient estimators, a module in the DSSAT model was used to estimate the GC. The GLUE GC estimater simulated the values of anthesis date, maturity date and grain weight showing RMSEn values of 19.97, 18.20 and 15.80, respectively. Simulated rice yield were 638 kg/rai as compare to 652 kg/rai of observed yield. The simulated above ground biomass (1,917 kg/rai) was slightly higher than the observed (1,798 kg/rai) one. The results indicate that GLUE estimators can be used to estimate rice genetic coefficients and further used for developing the rice specific recommendation in various production area.

งานวิจัยประเมินค่าสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของพันธุ์ข้าวที่นิยมปลูก ดำเนินการในปี 2555-2556 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินค่าสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง จำนวน 5 พันธุ์ คือ กข29 กข31 ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 และสุพรรรบุรี 3 ที่ปลูกต่างกันจำนวน 8 วันปลูก และข้าวไวต่อช่วงแสง 3 พันธุ์ คือ ขาวดอกมะลิ 105 กข6 และเล็บนกปัตตานี ปลูกต่างกันจำนวน 4 วันปลูก เก็บข้อมูลพัฒนาการ และการเจริญเติบโตของข้าว เช่น วันออกดอก วันเก็บเกี่ยว พร้อมน้ำหนักแห้งในแต่ละช่วงของการเจริญเติบโต นำข้อมูลทั้งหมดมาจัดรูปแบบให้สามารถใช้ได้กับ โปรแกรม DSSATv45 เพื่อปรับค่าสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของข้าว ด้วยโปรแกรม GLUE ใน DSSATv45 package ผลการศึกษาพบว่า ค่าจำลองวันออกดอก วันเก็บเกี่ยว และน้ำหนักเมล็ด ให้ค่า RMSEn 19.97 18.20 และ 15.80 ตามลำดับ ให้ผลผลิต 638 กิโลกรัมต่อไร่ เปรียบเทียบกับ 652 กิโลกรัมต่อไร่ ของผลผลิตจากแปลง ปริมาณน้ำหนักแห้งเหนือผิวดินที่ได้จากการจำลองมีค่ามากกว่าค่าจากแปลงทดลองกล่าวคือมีน้ำหนัก 1,917 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับเปรียบเทียบกับจำนวน 1,798 กิโลกรัมต่อไร่จากแปลงทดลอง งานวิจัยแสดงให้เห็นว่าโปรแกรม GLUE สามารถใช้คำนวณเพื่อปรับค่าสัมประสิทธิ์ทางพันธุกรรมของข้าวได้ และพัฒนาคำแนะนำเฉพาะพื้นที่ต่อไป
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  [Proceeding of rice research conference 2013: Rice research center groups in central, eastern and western region], Pathum Thani (Thailand), p. 163-172

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5641

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการข้าว กลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคกลาง ตะวันออก และ ตะวันตก ประจำปี 2556, ปทุมธานี, หน้า 163-172
Formato:  268 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional