Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ค่าดัชนีน้ำตาลในข้าวกล้องและข้าวกล้องงอก
Glycemic index of brown rice and pre-germinated brown rice
Autores:  Pakinee Akkaravessapong
Sunanta Wongpiyachon
Kunya Cheaupan
Watcharee Sukviwat
Pranee Maneenin
Angsutorn Wasusun
Sriwatana Songchitsomboon
Data:  2015-02-09
Ano:  2014
Palavras-chave:  Glycemic index
Insulin
Diabetes
Pre-germinated brown rice
Brown rice
ข้าวกล้อง
ข้าวกล้องงอก
โรคเบาหวาน
อินซูลิน
ค่าดัชนีน้ำตาล
Resumo:  Glycemic index (GI) is the indexing of the glycemic response of available carbohydrate from food. GI is measured by blood glucose levels over 2 hours after took food compared with same amount of carbohydrate. Depend on GI, Food can be classified into 3 types which are High- (GI≥70), medium- (GI= 56-69) and low-glycemic-index (GI≤55). The recent studies already shown that consumption of Low-glycemic-index can decrease risk of developing diabetes, cardiovascular disease, colon and breast cancer. In this study, Identification of GI in 3 varieties of pre-germinated brown rice and 1 variety of brown rice, namely: Khao Dawk Mali 105, RD6 and Sang Yod were carried out. To determine the effect of different foods on the blood glucose and Insulin, pre-germinated brown rice, brown rice and sugars were fed to 11 patients who have type 2 diabetes syndrome. Blood glucose and Insulin levels were measured at 0, 30, 60, 90 and 120 min and expressed as a percentage of the area under the glucose and Insulin response curve. This study found that GI of pre-germinated brown rice Khao Dawk Mali 105, RD6 Sang Yod and Sang Yod brown rice were 66.00, 71.4, 65.4, and 64.0 respectively. The result of II were 95.2, 99.8, 87.4 and 80.9 respectively. These results indicated that Amylose content, dietary fiber and amount of carbohydrate in each food may affect GI and II of food.

ค่าดัชนีน้ำตาล (GI) เป็นค่าบ่งชี้คุณภาพของคาร์โบไฮเดรต โดยวัดจากการถูกย่อยและดูดซึมในร่างกายมนุษย์ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้น ในช่วงเวลา 2 ชั่วโมง โดยเปรียบเทียบกับปริมาณคาร์โบไฮเดรตมาตรฐาน และได้มีการแบ่งอาหารตามค่าดัชนีน้ำตาล ได้เป็น 3 ชนิดคือ ค่าดัชนีน้ำตาลสูง (GI≥70) ค่าดัชนีน้ำตาลปานกลาง (GI = 56-69) และค่าดัชนีน้ำตาลต่ำ (GI≤55) การบริโภคอาหารที่มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำอย่างสม่ำเสมอ สามารถลดความเสี่ยงของโรคอ้วน มะเร็งลำไส้ และมะเร็งบริเวณทรวงอกได้ การศึกษาครั้งนี้ ใช้ข้าวกล้องงอก 3 พันธุ์ได้แก่ ขาวดอกมะลิ 105 กข6 สังข์หยดพัทลุง และข้าวกล้องสังข์หยดพัทลุง ทำการศึกษาในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จำนวน 11 คน โดยการเจาะเลือดกลุ่มตัวอย่างเปรียบเทียบค่าระดับน้ำตาลและอินซูลินในเลือดเฉลี่ยระหว่างเวลา 0,30,60,120,180 และ 240 นาที หลังจากนั้นนำมาสร้างกราฟ เพื่อหาพื้นที่ใต้กราฟ แล้วนำมาคำนวณหาค่า GI และหาค่าดัชนีอินซูลิน (II) เพื่อใช้ยืนยันความถูกต้องของค่า จากการศึกษาพบว่าข้าวกล้องงอกขาวดอกมะลิ 105 กข6 สังข์หยด และ ข้าวกล้องสังข์หยดมีค่า GI เท่ากับ 66.0, 71.4, 65.4 และ 64.0 และค่า II เท่ากับ 95.2, 99.8, 87.4 และ 80.9 ตามลำดับ จากผลที่ได้ กล่าวได้ว่า ปริมาณอมิโลส เยื่อใยอาหาร และคาร์โบไฮเดรต ในตัวอย่างอาหารมีผลต่อค่า GI ของอาหารชนิดนั้นๆ
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  [Proceeding of rice research conference 2013: Rice research center groups in central, eastern and western region], Pathum Thani (Thailand), p. 233-243

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5642

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการข้าว กลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคกลาง ตะวันออก และ ตะวันตก ประจำปี 2556, ปทุมธานี, หน้า 233-243
Formato:  268 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional