Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การเปรียบเทียบค่ามาตรฐานและวิธีการวิเคราะห์อมิโลสในข้าวไทย
Comparison of new standards and methods of amylose analysis in Thai rice varieties
Autores:  Supanee Jongdee
Supatra Suwanthada
Sunanta Wongpiyachon
Wutcharee Sukwiwat
Kanjana Piboon
Data:  2014-06-10
Ano:  2012
Palavras-chave:  Rice flour
Amylose contents
Cooking quality
Standard Thai rice indexs
ข้าว
ปริมาณอมิโลส
คุณภาพหุงต้ม
ค่ามาตรฐานข้าวไทย
พันธุ์
Resumo:  Cooking and eating characteristics are largely determined by the properties of the starch. Amylose content is the important starch properties that influence to cooking and eating characteristics. The study was compared between amylose standards and reading method : IRRI Amylose Standards which developed by INQR (International Network for Quality Rice) and Thai Amylose Standards which developed by Pathum Thani Rice Research Center. Five Thai rice varieties ; RD6, KDML105, RD7, PSL2 and CNT1; were used for studying the variation of 2 amylose standards and 3 methods. The 3 methods were (1) IRRI Standards (readings at wave length 720 nm. on Spectrophotometer and no standing time after the last chemical), (2) Thai Standards (reading at 620 nm. with 20 minutes standing time after the last chemical.) and (3) Thai Standards (readings at 720 nm. and no standing time after the last chemical). The study was conducted at 3 laboratories at Pathum Thani, Phitsanulok and Phrae Rice Research Centers. It was found that amylose content reading from IRRI Standards (1) was lower than Thai Standards reading at 620 nm. (2). For waxy rice (RD6), low amylase rice (KDML105), intermediate amylose (RD7) and high amylose (PSL2 and CNT1) were resulted to 1.5, 9.5, 16.7, 27.0 and 26.3% amylose content from IRRI Standards (1) compared to Thai Standards reading at 620 nm. (2) which resulted as 4.6, 15.9, 21.0,29.4 and28.0% respectively. Waxy rice, low and intermediate amylase rice gave higher variation than high amylose rice. Amylose content reading from IRRI (1) were lower 3-6% than Thai Standards (2 and 3), while there was less than 2% different in high amylose rice. Comparison between wave length of Thai Standards (2 and 3) were shown that amylose content were reduced when reading at 720 nm., especially in low and intermediate amylose rice.

อมิโลสเป็นองค์ประกอบย่อยของแป้งข้าวที่มีผลต่อคุณภาพข้าวสุก ซึ่งใช้ในการจำแนกคุณภาพการหุงต้มและรับประทาน การศึกษานี้เป็นการเปรียบเทียบปริมาณอมิโลสที่ได้จากการอ่านด้วยค่ามาตรฐานอมิโลส(IRRI) จากการพัฒนาโดย INQR ( International Network for Quality Rice); IRRI กับค่ามาตรฐานอมิโลสข้าวไทย(TH)จากการพัฒนาโดยศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี ศึกษาจากข้าวไทยจำนวน 5 พันธุ์ ได้แก่ กข6 ขาวดอกมะลิ 105 กข7 พิษณุโลก 2 และ ชัยนาท 1 โดยเปรียบเทียบตามวิธีการ ดังนี้ ใช้ค่ามาตรฐานอมิโลส IRRI อ่านค่าปริมาณอมิโลส ทันทีหลังเติมสารไอโอดีนที่ความยาวคลื่นแสง 720 nm. กับใช้ค่ามาตรฐานข้าวไทยอ่านค่าปริมาณอมิโลส หลังเติมสารไอโอดีน 20 นาที ที่ความยาวคลื่นแสง 620 nm. และอ่านทันที หลังเติมสารไอโอดีน ที่ความยาวคลื่นแสง 720 nm. ทำการทดลองที่ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี พิษณุโลก และแพร่ ผลการทดลองพบว่า ปริมาณอมิโลสของข้าวทั้ง 5 พันธุ์ ที่อ่านได้จากการใช้ค่ามาตรฐานอมิโลส IRRI ที่ความยาวคลื่นแสง 720 nm. มีค่าอมิโลสน้อยกว่าที่อ่านได้จากการใช้ค่ามาตรฐานอมิโลสข้าวไทย ที่ความยาวคลื่นแสง 620nm. โดยค่าอมิโลสของกลุ่มข้าวเหนียว กลุ่มข้าวอมิโลสต่ำ กลุ่มข้าวอมิโลสปานกลาง และกลุ่มข้าวอมิโลสสูงใช้ค่ามาตรฐานอมิโลส IRRI อ่านค่าได้ 1.5, 9.5, 16.7, 27.0 และ 26.3% เมื่อใช้ค่ามาตรฐานอมิโลสข้าวไทยอ่านค่าได้ 4.6, 15.9, 21.0, 29.4 และ 28.0% ตามลำดับ เมื่อใช้ค่ามาตรฐานอมิโลส IRRI เปรียบเทียบกับการใช้มาตรฐานอมิโลสข้าวไทย กลุ่มข้าวเหนียวถึงกลุ่มอมิโลสปานกลางจะมีค่าความต่างของอมิโลสน้อยกว่าประมาณ 3-6% ขณะที่กลุ่มข้าวอมิโลสสูงมีค่าความต่างของอมิโลสน้อยกว่า ประมาณ 2% การเปรียบเทียบการอ่านด้วยความยาวคลื่นแสงที่แตกต่างกันในการอ่านของค่ามาตรฐานอมิโลสข้าวไทย พบว่า ปริมาณอมิโลสลดลง เมื่อใช้คลื่นแสงยาวโดยเฉพาะกลุ่มข้าวอมิโลสต่ำและปานกลาง
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  [Proceeding of rice research symposium 2012: Rice research center groups in upper and lower northern region], Phitsanulok (Thailand), p. 252-256

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5585

เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการกลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคเหนือตอนบนและภาคเหนือตอนล่าง ประจำปี 2555, พิษณุโลก, หน้า 252-256
Formato:  298 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional