Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  สิทธิเกษตรกร: ผลกระทบจากร่างแก้ไขกฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืช
Farmer's rights: Effects of amendment to plant variety protection act
Autores:  Somchai Ratanachueskul
Data:  2015-05-21
Ano:  2014
Palavras-chave:  Farmers'rights
Plant variety protection act
Plant conservation
Ownership
Seed
Diversity
Legal rights
สิทธิเกษตรกร
พ.ร.บ.คุ้มครองพันธุ์พืช
อนุรักษ์พันธุ์พืช
กรรมสิทธิ์ในเมล็ดพันธุ์
พันธุ์พืช
เมล็ดพันธุ์พืช
กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืช
ทรัพย์สินทางปัญญา
นักปรับปรุงพันธุ์พืช
การพัฒนาพันธุ์พืช
สิทธิทางกฎหมาย
Resumo:  Agriculture has been one of the most important occupations in the Thai society from the past to the present. A considerable number of plant varieties in Thailand are partly derived from the farmers’ path of life and their customs—they exchange seeds and knowledge relating to such varieties. However, under unavoidable international trade and free market paradigm, agriculture businesses led by multinational corporations encourage and support modern agriculture by convincing farmers to cultivate for export using high yield varieties, and limiting farmers’ choice to grow crops. Under these circumstances, the principle factors of farmers’ cultivation, seeds and plant varieties among others, are transformed into private property and protected by an intellectual property system, namely the Plant Breeders’ Rights (PBRs). Whether the farmers accept such transformation voluntarily or not, they are affected by the changing ownership structure of seeds and plant varieties. Specifically speaking, farmers’ rights are disappearing or diminishing. This article explored the effects of the amendment to the Plant Variety Protection Act, B.E.2542—the first and only legal mechanism for plant genetic resources protection in Thailand. Finally, the article concluded that the revised Act had immense effects on the structure of farmers’ rights. It affected the conservation and development of plant species, the diversity of plant varieties, the ecosystem, and food security.

การทำเกษตรกรรมถือเป็นอาชีพสำคัญของคนไทยนับแต่อดีตจนปัจจุบัน พันธุ์พืชต่างๆ ที่มีอยู่อย่างหลากหลายในประเทศไทย ส่วนหนึ่งเป็นผลจากวิถีชีวิตและจารีตประเพณีของเกษตรกรที่นิยมแลกเปลี่ยนเมล็ดพันธุ์ และองค์ความรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวกับพันธุ์พืชแต่ละชนิด แต่ภายใต้บริบทของการค้าระหว่างประเทศในระบบตลาดเสรี ภาคธุรกิจการเกษตรที่นำโดยบริษัทข้ามชาติขนาดใหญ่ได้ผลักดันรูปแบบการเกษตรสมัยใหม่ เน้นการผลิตเพื่อส่งออก เน้นปลูกพืชที่ให้ผลผลิตจำนวนมาก และเป็นที่ต้องการของตลาดผู้บริโภค ทำให้ต้องใช้เมล็ดพันธุ์ หรือพันธุ์พืชสมัยใหม่ที่ปรับปรุงพันธุ์ให้ตอบรับต่อวัตถุประสงค์ข้างต้น ภายใต้สถานการณ์เช่นนี้เมล็ดพันธุ์ หรือพันธุ์พืชซึ่งเป็นปัจจัยพื้นฐานของเกษตรกรรมถูกแย่งชิงและแปรสภาพเป็นทรัพย์สินส่วนบุคคลและได้รับการคุ้มครองภายใต้กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา (ระบบสิทธินักปรับปรุง พันธุ์พืช) ไม่ว่าจะสมัครใจหรือไม่ก็ตามเกษตรกรล้วนได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนโครงสร้างกรรมสิทธิ์ในเมล็ดพันธุ์และพันธุ์พืช โดยเฉพาะสิทธิเกษตรกรที่มีอยู่ตามวิถีชีวิตและจารีตประเพณีสูญสิ้นหรือถูกลดทอนลง บทความนี้ได้วิเคราะห์ปัญหาของการแก้ไข พ.ร.บ. คุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ.2542 ซึ่งเป็นกฎหมายคุ้มครองทรัพยากรพันธุ์พืชของไทยโดยตรงเพียงฉบับเดียว และเสนอว่าการแก้ไขมีผลกระทบต่อโครงสร้างสิทธิเกษตรกรอย่างรุนแรง และมีผลโยงใยไปยังกระบวนการอนุรักษ์และพัฒนาพันธุ์พืช ความหลากหลายของพันธุ์พืช ระบบนิเวศ และความมั่นคงทางอาหารในที่สุด
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5734

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2014, V. 42, No. 2, p. 139-146

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2557, ปีที่ 42, ฉบับที่ 2, หน้า 139-146
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional