Registro completo |
Provedor de dados: |
Thai Agricultural
|
País: |
Thailand
|
Título: |
การศึกษาเปรียบเทียบกลุ่มสาร Acylated steryl glucosides ในข้าวกล้องและข้าวกล้อง และความสัมพันธ์กับสีของข้าว
Comparisons of acylated steryl glucosides in brown and pre-germinated brown rice and grain color
|
Autores: |
Pakinee Akkaravessapong
Suganya Wongpornchai
Sunanta Wongpiyachon
Kitsada Pitija
Angsutorn Wasusun
Panawan Suttiarporn
|
Data: |
2015-05-19
|
Ano: |
2013
|
Palavras-chave: |
Acylated steryl glucosides
Rice varieties
Sterol
Free fatty acid
White rice
Red rice
Brown rice
Pre-germinated brown rice
ASGs
Blood glucose control
Nutritive value
Chemical composition
Color
ข้าวกล้อง
ข้าวกล้องงอก
ข้าวขาว
ข้าวต่างสี
สารต้านอนุมูลอิสระ
การควบคุมระดับน้ำตาล
กรดไขมันอิสระ
สเตอรอล
โครงสร้างทางเคมี
การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี
คุณค่าทางโภชนาการ
สารสี
พันธุ์ฺข้าว
|
Resumo: |
Acylated Steryl Glucosides (ASGs) are unsaponified matters that are ubiquitously distributed in edible plant sources, for example barley, maize and brown rice. ASGs in pre-germinated brown rice have reported to improve insulin activity and blood glucose control mechanisms in the diabetic condition through the activation of insulin like growth factor 1 (IGF-1) and increasing of IGF-1 production. Recently, the medical studies confirm that dietary intake of brown and pre-germinated brown rice is useful for alleviating symptoms of both diabetes and pre-diabetes. To improve the functional dietary intake of Thai rice, identification of ASGs in seven varieties, namely: Khao Dawk Mali 105, PTT1, RD31, Sang Yod, RD6, Niaw Dam Chum Pae and Niaw Dam Maw, brown and pre-germinated Thai rice varieties were carried out. First, Brown and pre-germinated rice were analyzed to search for ASGs using GC-MS to identify the sterol moieties and free fatty acids. We found that in as Campesterol, Stigmasterol, ß - Sitosterol, Cycloartenol and 2 4- Methylene cycloartanol were identified in brown rice and pre-germinated brown rice verities. Later, using LC-ESI-MS to screen the ASGs compounds from the extracted rice samples and using LC-MS-MS to identify ASGs chemical structure. The result of this study found that the two ASGS as Sitosteryl-(6’-o-palmityl)-ß-D-glucoside and Campesteryl- (6’-o-palmityl)- ß-D-glucoside were identified in all pre-germinated rice samples and in brown rice varieties from different growing areas. In addition, three new ASGs compounds viz. Stigmasteryl- (6’-o-palmityl)- ß-D-glucoside, ß-sitosteryl-(6’-o-linoleoyl)- ß-D-glucoside and Campesteryl- (6’-o-linoleoyl)-ß-D-glucoside were identified in brown and pre-germinated rice. Differences in quantities of ASGs compounds may be affected by growing locations and rice varieties.
กลุ่มสาร Acylated steryl glucosides (ASGs) เป็นสารกลุ่ม unsaponified matters ที่พบในธัญพืช เช่น ถั่วเหลือง, ข้าวสาลี, และข้าวกล้อง การศึกษาก่อนหน้านี้พบว่าสาร ASGs ที่พบในข้าวกล้องงอกในจัดเป็นสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ โดยเป็นทั้งสารต้านอนุมูลอิสระและสารช่วยประสิทธิภาพการทำงานของ ß-cells ในตับอ่อน โดยช่วยในการทำงานของ insulin like growth factor 1 (IGF-1) และช่วยเพิ่มการผลิต IGF-1 ซึ่งเป็นช่วยการทำงานของอินซูลินและการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ดังนั้น การบริโภคข้าวกล้องงอก อาจช่วยลดความรุนแรงของอาการของผู้ป่วยโรคเบาหวานหรือกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานได้ การศึกษานี้ ได้ทำการศึกษาสาร ASGs ในตัวอย่างข้าวกล้องและข้าวกล้องงอกของข้าว 7 สายพันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ปทุมธานี 1 ขาวดอกมะลิ 105 กข31 สังข์หยด กข6 เหนียวดำชุมแพ และเหนียวดำหมอ เพื่อพัฒนาศักยภาพทางโภชนบำบัดในพันธุ์ข้าว เนื่องจากสาร ASGs มีโครงสร้างประกอบด้วย กลุ่มสาร sterol, free fatty acid และน้ำตาลกลูโคส ผลการศึกษาโดยใช้ Gas chromatography–mass spectrometry (GC-MS) พบสารกลุ่ม Free fatty acid 3 ชนิด ได้แก่ palmitic acid, linoleic acid, oleic acid และกลุ่ม Sterol 5 ชนิด ได้แก่ Campesterol, Stigmasterol, ß-Sitosterol, Cycloartenol และ 24-Methylene cycloartanol ในตัวอย่างข้าวกล้องและข้าวกล้องงอก และทำการยืนยันมวลโมเลกุลสาร ASGs โดย Liquid chromatography electrospray ionization mass spectrometry (LC-ESI/MS) และทำการยืนยันโครงสร้างโมเลกุลสาร ASGs โดย Liquid chromatography mass spectrometry-mass spectrometry (LC-MS/MS) พบว่าสารกลุ่ม ASGs ที่พบในตัวอย่างข้าวมีทั้งสิ้น 5 ชนิด โดยมี 2 ชนิด คือ Stiosteryl -(6’-o-pamityl)-ß-D-glucoside และ Campesteryl- (6’-o-pamityl)-ß-D-glucoside ที่สามารถพบในข้าวกล้องบางพันธุ์และข้าวกล้องงอกทุกพันธุ์ และมี 3 ชนิด ที่พบเฉพาะในข้าวกล้องงอก คือ Stigmasteryl-(6’-o-palmityl)-ß-D-glucoside, ß-sitosteryl-(6’-o-linoleoyl)-ß-D-glucoside และ Campesteryl-(6’-o-linoleoyl)-ß-D-glucoside เมื่อศึกษาเปรียบเทียบปริมาณกลุ่มสาร ASGs พบว่าความงอกไม่ส่งผลต่อปริมาณสาร แต่พันธุ์และแหล่งปลูกมีผลต่อปริมาณสารที่พบในตัวอย่างข้าวกล้องและข้าวกล้องงอก
|
Tipo: |
PhysicalObject
|
Idioma: |
Thailandês
|
Identificador: |
[Proceeding of rice research conference 2012: Rice research center groups in central, eastern and western region], Bangkok (Thailand), p. 157-170
http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5712
เอกสารประกอบการประชุมวิชาการข้าว กลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคกลาง ตะวันออก และตะวันตก ประจำปี 2555, กรุงเทพฯ, หน้า 157-170
|
Formato: |
315 p.
|
Direitos: |
ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
เอกสาร นี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
|
|