Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ผลของ 17 beta-estradiol ต่อการเปลี่ยนเพศปลาหมอไทยระยะไข่ โดยวิธีการแช่
Effect of 17 beta-estradiol on sex reversal of Climbing perch (Anabas testudineus) egg phase by immersion method
Autores:  Phonesack Matthavong
Siripavee Charoenwattanasak
Bundit Yuangsoi
Sutee Wongmaneeprateep
Data:  2015-06-09
Ano:  2013
Palavras-chave:  Climbing perch
Anabas testudineus
Egg phase
Sex reversal
17 beta-estradiol
Hormones
Immersion method
Growth rate
Survival rate
Sex differentiation
ปลาหมอไทย
ระยะไข่
อัตราการเปลี่ยนเพศ
เพศเมีย
ฮอร์โมน 17 เบต้า-เอสตาไดออล
การแช่ไข่ปลา
อัตราการเจริญเติบโต
อัตราการฟัก
อัตราการรอดตาย
ลักษณะของเซลล์สืบพันธุ์
การเพิ่มผลผลิต
การเปลี่ยนสภาพเพศ
Resumo:  The effect of 17β-estradiol on sex reversal of climbing perch (Anabas testudineus) egg phase by immersion method were studied. The fish eggs were immersed with 17β-estradiol at the level of 0 (control group), 50, 100, 150 and 200 μg/l in fiberglass tanks containing 5 L freshwater for 4 days. Five hundred eggs were used for each treatment with the experiments being done in 4 replicate. After hatching, hatching rates of the fish were not significantly different regardless of levels 17β-estradiol. Initial length and weight of the fish were measured at the beginning of the experiment. After nursing for 56 days in suitable condition, sex reversal rate, length gain, weight gain, average daily growth, specific growth rate and survival rate of the fishes were recorded. The results showed that sex reversal rate, length gain, weight gain, average daily growth, specific growth rate of fish immersed with 17β-estradiol 150 and 200 μg/l at were significantly higher (P>0.05) than other groups. However, survival rates of the fish were not significantly different (P>0.05). Therefore, using 17β-estradiol at 150 μg/l is the optimal dose for sex reversal of climbing perch egg phase

การศึกษาการเปลี่ยนเพศปลาหมอไทยให้เป็นเพศเมีย โดยวิธีการแช่ไข่ปลาหมอไทยในฮอร์โมน 17β-estradiol ที่ระดับความเข้มข้นต่างกัน คือ 0 (กลุ่มควบคุม), 50, 100, 150 และ 200 ไมโครกรัมต่อลิตร ในถังทดลองความจุ 5 ลิตร ที่อัตราความหนาแน่น 500 ฟอง/ถัง แช่เป็นระยะเวลา 4 วัน จนกระทั่งไข่ฟักออกมาเป็นตัว พบว่า อัตราการฟักของปลาหมอไทยในทุกกลุ่มการทดลองไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) หลังจากนั้นวัดความยาว และน้ำหนักเริ่มต้น ของปลาหมอไทยก่อนนำไปอนุบาลในบ่อซีเมนต์ที่ความจุน้ำ 100 ลิตร เป็นระยะเวลา 56 วัน พบว่า ปลาหมอไทยที่แช่ในฮอร์โมน 17β-estradiol ที่มีความเข้มข้น 150 และ 200 ไมโครกรัมต่อลิตร มีอัตราการเปลี่ยนเพศให้เป็นเพศเมีย ความยาวที่เพิ่มขึ้น น้ำหนักที่เพิ่มขึ้น อัตราการเจริญเติบโตและอัตราการเจริญเติบโตจำเพาะสูงกว่า (P<0.05) ปลาหมอไทยในกลุ่มอื่น โดยที่อัตราการรอดตายของปลาหมอไทยของทุกกลุ่มการทดลองไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นการแช่ไข่ปลาหมอไทยในสารละลายฮอร์โมน 17β-estradiol ที่ระดับ 150 ไมโครกรัมต่อลิตร จึงเป็นระดับที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการเปลี่ยนเพศปลาหมอไทยให้เป็นเพศเมีย
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5799

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2013, V. 41, Suppl. 1, p. 110-115

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2556, ปีที่ 41, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 110-115
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional