Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การจัดการธาตุอาหารไนโตรเจน โดยการใช้แผ่นเทียบสี (LCC) ในการปลูกข้าวนาชลประทานพันธุ์ต่าง ๆ ในภาคกลาง
Nitrogen management with leaf color chart (LCC) in irigated rice varietes of the central plain
Autores:  Kingkaw Kunket
Somroj Prakobboon
Adul Kridwadee
Wassana Intalang
Anchalee Kramsri
Laddawan Kunnoot
Somsak Thongdeetae
Samak Yingyong
Waree Chaithep
Data:  2012-07-27
Ano:  2009
Palavras-chave:  Rice
Leaf Color Chart
Nitrogen fertilizer
Photoperiod-insensitive rice
Irrigated area
Central plain
ข้าว
แผ่นเทียบสีใบข้าว
ปุ๋ยไนโตรเจน
ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง
ข้าวไวต่อช่วงแสง
เขตชลประทาน
ภาคกลาง
Resumo:  Aim of this study was to develop an appropriate recommendation for nitrogen management in irrigated areas of the central plain by using Leaf Color Chart (LCC). Eleven photoperiod-insensitive and 3phot operiod-sensitive rice varieties were studied for nitrogen management using LCC. The studies were conducted at Pathum Thani Rice Research Center both in wet and dry seasons during 2006-2007. Factorial in RCB with 4 replications were used which consisted of 2 factors, rice varieties and nitrogen managements. Four methods of nitrogen managements ; recommendation, application of nitrogen at LCC≤2, LCC≤3 and LCC≤4 were used in the experiments. The results showed that leaf color differs among varieties and seasons. For photoperiod-insensitive rice varieties, at leaf color level of LCC≤3 was recommended to apply 4 kg N/rai in most varieties except RD31 in which LCC≤4 was recommended. For 3 photoperiod-sensitive rice varieties, at leaf color level of LCC≤2 were recommended to apply 2 kg N/rai, and the excess amount of nitrogen could not increase the rice yield due to less nitrogen response.

การใช้แผ่นเทียบสีในการวัดสีใบข้าว (Leaf Color Chart, LCC) เป็นวิธีหนึ่งในการตรวจสอบความต้องการปุ๋ยไนโตรเจนของข้าวที่ง่ายและสะดวกรวดเร็ว ได้ศึกษาการใช้แผ่นเทียบสีใบข้าวในการจัดการปุ๋ยไนโตรเจน ในการปลูกข้าวนาชลประทานภาคกลาง ดำเนินการที่ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี ปี 2549-2550 ทั้งฤดูนาปรังและฤดูนาปี ทดลองกับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง 11 พันธุ์ และข้าวไวต่อช่วงแสง 3 พันธุ์ ทำการทดลองแบบ factorial in RCB มี 4 ซ้ำ มี 2 ปัจจัยคือ พันธุ์ข้าวและวิธีการใส่ปุ๋ย มี 4 วิธีการ คือ ใส่ปุ๋ยตามคำแนะนำ ใส่ปุ๋ยเมื่อ LCC≤2 ใส่ปุ๋ยเมื่อ LCC≤3 และใส่ปุ๋ยเมื่อ LCC≤4 หาระดับสีใบข้าวที่เหมาะสมในการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนให้กับพันธุ์ข้าวต่างๆ โดยพิจารณาจากปริมาณปุ๋ยไนโตรเจนที่ใส่และผลผลิตข้าว พบว่า สีใบของข้าวมีค่าแตกต่างกันขึ้นอยู่กับพันธุ์ และฤดูกาลปลูก ในข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง แนะนำให้ใส่ปุ๋ยไนโตรเจนครั้งละ 4 กก./ไร่ หรือคิดเป็นปุ๋ยยูเรีย 9 กก./ไร่ เมื่อวัดค่าสีข้าวได้ต่ำกว่า 3 ยกเว้นข้าวพันธุ์ กข31 ใส่ปุ๋ยเมื่อวัดค่าสีข้าวได้ต่ำกว่า 4 ส่วนข้าวไวต่อช่วงแสง แนะนำให้ใส่ใส่ปุ๋ยไนโตรเจนครั้งละ 2 กก.N/ไร่ คิดเป็นปุ๋ยยูเรีย 6 กก.N/ไร่ เมื่อวัดค่าสีใบได้่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 ชึ่งใช้ปุ๋ยไนโตรเจนต่ำสุด การใส่ปุ๋ยไนโตรเจน มากเกินไปไม่มีผลต่อการเพิ่มผลผลิตในข้าวไวต่อช่วงแสง เพราะข้าวตอบสนองต่อปุ๋ยไนโตรเจนน้อย
Tipo:  Collection
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 1906-0246

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5099

Thai Rice Research Journal (Thailand), ISSN 1906-0246, Jan-June 2009, V. 3, No. 1, p. 52-72

วารสารวิชาการข้าว, ISSN 1906-0246, ม.ค.-มิ.ย. 2552, ปีที่ 3, ฉบับที่ 1, หน้า 52-72
Formato:  96 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional