Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ผลของการใช้แบคทีเรียกรดแลคติกในน้ำพืชหมักเป็นสารโพรไบโอติกต่อจุลินทรีย์ในไก่เนื้อ
Effect of fermented juice of epiphytic lactic acid bacteria probiotics on microflora in broiler chickens
Autores:  Smerjai Bureenok
Kraisit Vasupen
Kessara Ampaporn
Benya Seanmhayak
Data:  2015-05-27
Ano:  2014
Palavras-chave:  Broiler chicken
Fermented juice
Animal feeding
Microflora
Lactobacillus plantarum
Lactic acid bacteria
Probiotic
Antibiotic
Growth rate
Broiler production
ไก่เนื้อ
การให้อาหารสัตว์
จุลินทรีย์
แบคทีเรียกรดแลคติก
สารโพรไบโอติก
น้ำพืชหมัก
ประสิทธิภาพอาหารสัตว์
คุณค่าทางโภชนะ
ระบบทางเดินอาหาร
การป้องกันเชื้อก่อโรค
สารปฏิชีวนะ
การเจริญเติบโต
การผลิตไก่เนื้อ
Resumo:  A study on the potential of Lactobacillus plantarum ST1and dried fermented juice of epiphytic lactic acid bacteria (DFJLB) as probiotics was conducted with 200 broilers (1-day old). On four treatments were control (basal diet), antibiotic (basal diet + 0.05% OTC) and 0.2% DLABand1.0% DFJLB with basal diet. The birds were arranged in a Completely Randomized Design, 5 replications with 10 chicks per replication in cage. All treatments were not significant difference on growth and feed conversion efficiency in broilers(P<0.05). Significantly, lowest E. coli counts in feces fed Lactobacillus plantarumST1 and DFJLB were recorded compared to control and antibiotic (P<0.05). Lactic acid bacteria counts in cecum significantly reduced in control compared to other groups (P<0.05). Based on the findings, addition of Lactobacillus plantarumST1with single strain and DFJLB with multi strain probiotics can be replaceable to antibiotic for broiler production.

ศึกษาประสิทธิภาพการใช้แบคทีเรียกรดแลคติกเชื้อเดี่ยวแบบผงแห้งและผงแห้งจากน้ำพืชหมักเชื้อผสมเป็นสารโพรไบโอติกทดแทนสารปฏิชีวนะในไก่เนื้อจำนวน 200 ตัว (อายุ 1 วัน) จำนวน 4 กลุ่มทดลองตามสูตรอาหารดังนี้ 1) กลุ่มควบคุมที่ได้รับอาหารพื้นฐาน 2) กลุ่มที่เติมสารปฏิชีวนะออกซี่เตตราไซคลิน 0.05% 3) กลุ่มที่เติม Lactobacillus plantarumST 10.2% และ 4) กลุ่มที่เติมผงแห้งจากน้ำพืชหมัก 1%ตามลำดับ ทำการแบ่งลูกไก่ตามกลุ่มทดลองแบบสุ่มตลอด จำนวน 5 ซ้ำ ซ้ำละ 10 ตัว ผลการศึกษาพบว่า ทั้ง 4 กลุ่มทดลองมีผลต่อการเจริญเติบโตและประสิทธิภาพการใช้อาหารในไก่เนื้อไม่แตกต่างกัน (P>0.05) อย่างไรก็ดีการใช้แบคทีเรียกรดแลคติกแบบผงแห้งและผงแห้งจากน้ำพืชหมัก พบปริมาณ E.coli ในมูลต่ำที่สุด (P<0.05) จำนวนแบคทีเรียกรดแลคติกในส่วนซีกัมในกลุ่มควบคุมต่ำกว่ากลุ่มทดลองอื่นๆ (P<0.05) จากผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า การเติม Lactobacillus plantarum ST1 เชื้อเดี่ยวและผงแห้งจากน้ำพืชหมักเชื้อผสมที่มีคุณสมบัติเป็นสารโพรไบโอติกสามารถทดแทนการใช้สารปฏิชีวนะออกซี่เตตราไซคลินในการเลี้ยงไก่เนื้อได้
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5761

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2014, V. 42, Suppl. 1, p. 267-272

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2557, ปีที่ 42, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 267-272
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional