Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การใช้สารกำจัดวัชพืชกลูโฟซิเนทในข้าวโพดหวาน
Application of glufosinate herbicide in sweet corn production
Autores:  Sodsai Changsaluk
Tosapon Pornprom
Naroon Waramitr
Rungsit Suwanmonkha
Data:  2012-05-08
Ano:  2010
Palavras-chave:  Sweet corn
Herbicides
Weed Control
Post-emergence
ข้าวโพดหวาน
วัชพืช
สารกำจัดวัชพืช
กลูโฟซิเนท
การกำจัดวัชพืช
ผลผลิต
คุณภาพ
Resumo:  Experiment on post-emergence herbicide, glufosinate in sweet corn production field conducted at the National Corn and Sorghum Research Center during November 2008-January 2010. The objective of this experiment was to study on the efficiency of herbicides and their affect on sweet corn hybrid, Insee 2 variety. The experiment laid out in RCBD, composed of 10 treatments, with 3 replications. The results revealed that weed found in the experiment were purple nutsedge (Cyperus rotundus), wild poinsettia (Euphorbia heterophylla), tropical spiderwort (Commelina benghalensis) and Itchgrass (Rottboellia cochinchinensis). The application of glufosinate at the rate of 800-1,400 g/rai, as post-emergence herbicide gave good weed control of 80-86 percent, and better than glufosinate at the rate of 700 g/rai and hand weeding. They also gave good weed reduction of 39-76 percent. All herbicide treatments were not affect to green ear yield, standard ear weight, and number of good ear of Insee 2.

3 tables

ทำการทดลองใช้สารกลูโฟซิเนทกำจัดวัชพืชในแปลงปลูกข้าวโพดหวาน ณ ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2552 ถึง มกราคม 2553 เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสารกำจัดวัชพืช และผลกระทบต่อผลผลิตของข้าวโพดหวานพันธุ์ลูกผสมเดี่ยวอินทรี 2 วางแผนการทดลองแบบ RCBD มี 3 ซ้ำ จำนวน 10 สิ่งทดลอง คือการใช้สารกำจัดวัชพืช glufosinate ครั้งที่ 2 อัตรา 700, 800, 900, 1,000, 1,100, 1,200, 1,300, และ1,400 กรัม/ไร่ พ่นเมื่อข้าวโพดอายุ 4 สัปดาห์หลังงอก พบว่า วัชพืชที่ขึ้นมากในแปลงทดลองคือ แห้วหมู (Cyperus rotundus) รองมาคือผักยาง (Euphorbia heterophylla) ผักปราบ (Commelina benghalensis) และหญ้าโขย่ง (Rottboellia cochinchinensis) การใช้สาร glufosinate อัตรา 800-1,400 กรัม/ไร่ สามารถควบคุมวัชพืชรวมได้ดี มีค่าตั้งแต่ 80-86 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งดีกว่าการใช้ที่อัตรา 700 กรัมต่อไร่ และการกำจัดด้วยจอบ โดยทำให้ปริมาณวัชพืชลดลงมาก ตั้งแต่ 39-76 เปอร์เซ็นต์ และการใช้ glufosinate ทุกอัตราไม่มีผลกระทบต่อผลผลิตฝักสดทั้งเปลือก ผลผลิตฝักดี และจำนวนฝักดีของข้าวโพดหวานพันธุ์ลูกผสมเดี่ยวอินทรี 2
Idioma:  Thailandês
Identificador:  Proceedings of the 4th Workshop of Corn and Sorghum Research Project of Kasetsart University: Corn and sorghum yield increasing to improve the quality of life and environmental sustainability, Bangkok (Thailand), p. 306-313

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/4685

การประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการวิจัยแม่บทข้าวโพดและข้าวฟ่าง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 4: เรื่องการเพิ่มผลผลิตข้าวโพดและข้าวฟ่างเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน, กรุงเทพฯ, หน้า 306-313
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional