Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  พญาลืมแกง: มหัศจรรย์ข้าวพื้นเมืองไทย
Pa-yah Leum Gaeng: Miracle of Thai traditional rice
Autores:  Jaranjit Phengrat
Suwat Jearakongman
Atthapol Suwanwong
Pisan Konghakod
Kittiphong Phengrat
Sukavitthaya Pasopa
Somjai Saleetho
Weerasak Homsombat
Kritsana Sudthasan
Pannee Jitta
Supatthana Bureerat
Wilailak Sukprakan
Data:  2014-09-29
Ano:  2013
Palavras-chave:  Thai miracle rice
Upland rice
Traditional rice
Rainfed rice
Quality rice
Pa-yah Leum Gaeng
ข้าวมหัศจรรย์
ข้าวไร่
ข้าวพื้นเมือง
ข้าวนาน้ำฝน
ข้าวคุณภาพดี
พันธุ์พญาลืมแกง
ลักษณะทางการเกษตร
คุณภาพเมล็ด
คุณภาพการหุงต้ม
Resumo:  This activity was carried out during 2009 – 2012 under the project on research and development of upland rice for the upper Northeastern Thailand by KKN_RRC, CPA_RRC, SKN_RRC, UDN_RRC, NRM_RRC, NKI_RRC and UBN_RRC. Ten accessions of Pa-yah Leum Gaeng collected from farmers’ fields and 1,458 other upland rice accessions from the NRGB were evaluated for their adaptation and farmers acceptance on agronomic characteristics, grain quality and eating quality. The selected Pa-yah Leum Gaeng are glutinous upland rice with erected plant type, moderately strong stem and long-slender leaf with light green color. The internode color is yellow. The flowering date is about September 20th. The average number of panicles per hill is 9 – 10 while an average yield is 357 kg/rai. The hull color is straw and the grain shape is thick and bold. Grain length : width : thickness is 7-8 mm: 2.9 mm: 2.1 mm. Cooked rice is soft texture with strong aroma. Promising characters are that cooked brown rice is very good taste with high protein content (8.16 g). The selected accession is short duration maturity and blast resistant (blast score was 2-3) Currently, this selected accession is being processed for varietal release. The newly released Pa-yah Leum Gaeng will be recommended to seed grower groups in Nam Nao district, Phetchabun and in Ban Haet district, Khon Kaen.

การดำเนินงานโครงการวิจัยและพัฒนาข้าวไร่ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ในปี 2552-2555 โดยศูนย์วิจัยข้าวขอนแก่น ศูนย์วิจัยข้าวชุมแพ ศูนย์วิจัยข้าวสกลนคร ศูนย์วิจัยข้าวอุดรธานี ศูนย์วิจัยข้าวนครราชสีมา ศูนย์วิจัยข้าวหนองคาย และศูนย์วิจัยข้าวอุบลราชธานี ได้ปลูกศึกษาลักษณะทางการเกษตรพันธุ์ข้าวไร่ที่รวบรวมจากแปลงเกษตรกรที่ปลูกพันธุ์ข้าวพญาลืมแกง (10 ตัวอย่างพันธุ์) และข้าวไร่จากแหล่งต่างๆ และจากธนาคารเชื้อพันธุ์ข้าว (1,458 พันธุ์/สายพันธุ์) คัดเลือกเฉพาะพันธุ์ที่มีลักษณะของข้าวพันธุ์พญาลืมแกงที่เกษตรกรต้องการ รวมทั้งประเมินการปรับตัวและการยอมรับของเกษตรกร ในลักษณะทางการเกษตร คุณภาพเมล็ดและการหุงต้มและรับประทาน สามารถคัดเลือกข้าวไร่พันธุ์พญาลืมแกงที่มีลักษณะประจำพันธุ์ คือ เป็นข้าวไร่ข้าวเหนียว ทรงกอตั้ง ปล้องสีเหลือง ใบสีเขียวอ่อน ยาวเรียว ออกดอกประมาณวันที่ 20 กันยายน ลำต้นค่อนข้างแข็ง จำนวนรวงต่อกอ 9-10 รวง ผลผลิตประมาณ 357 กิโลกรัมต่อไร่ เปลือกเมล็ดสีฟาง รูปร่างเมล็ดใหญ่อ้วนป้อม ยาว 7-8 มิลลิเมตร กว้าง 2.9 มิลลิเมตร หนา 2.1 มิลลิเมตร ข้าวนึ่งสุกนุ่ม มีกลิ่นหอมมาก ลักษณะเด่น คือ หากรับประทานแบบข้าวกล้องข้าวเหนียวจะมีรสชาติอร่อยมาก มีโปรตีนสูง (8.16 กรัม) อายุเบาและต้านทานต่อโรคไหม้ดี (ระดับคะแนน 2-3) ปัจจุบันอยู่ในระหว่างการรวบรวมข้อมูล เพื่อขอรับรองและแนะนำพันธุ์ให้กับกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวพญาลืมแกง ที่อำเภอน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ และบ้านวังหว้า อำเภอบ้านแฮด จังหวัดขอนแก่น
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  Proceedings of the 30th Rice and Temperate Cereal Crops Annual Conference 2013, Bangkok (Thailand), p. 72-90

ISBN 978-974-403-928-6

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5597

เอกสารการประชุมวิชาการข้าวและธัญพืชเมืองหนาว ครั้งที่ 30 พ.ศ. 2556, กรุงเทพฯ, หน้า 72-90
Formato:  326 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional