Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การพัฒนาสายพันธุ์ข้าวต้านทานโรคขอบใบแห้งโดยวิธีการผสมกลับและคัดเลือก ด้วยเครื่องหมายโมเลกุล
Development of rice for bacterial leaf blight resistance using backcross method and marker-assisted selection
Autores:  Kanokon Yaodam
Prapa Sripichitt
Tanee Sriwongchai
Supaporn Junbuathong
Data:  2016-02-26
Ano:  2015
Palavras-chave:  Rice
Bacterial leaf blight disease
Xanthomonas oryzae pv. oryzae
Backcrossing
Marker-assisted selection
ข้าว
โรคขอบใบแห้ง
Xanthomonas oryzae pv. oryzae
การผสมกลับ
การคัดเลือกโดยเครื่องหมายโมเลกุล
Resumo:  Bacterial leaf blight (BLB) disease is caused by bacteria Xanthomonas oryzae pv. oryzae (Xoo). Infection of this disease can occur at all stages of rice plants from seedling to heading. It can cause as high as 80 % yield reduction. The utilization of resistant varieties have been considered to be the most effective way to control the disease. At present, rice varieties are not widely resistant to BLB disease which has many strains. The resistant varieties having different BLB resistant genes are associated with the different strains of the pathogen. It is necessary to improve rice varieties for widely resistance to BLB disease. Rice improvement for BLB disease resistance was conducted by crossing between a line (RGDU07097-1-MAS-8-9-B-1) with BLB disease resistance used as donor parent and a variety (Qiqnizhan) with good plant type used as recurrent parent to produce F1 hybrids. The F1 plants were backcrossed to recurrent parent for production of BC1F1 and BC2F1 progenies. Selection was done using DNA markers specific to xa5 and Xa21 genes controlling BLB disease resistance in each backcross generations. The highest percentage of recurrent parent from BC2F1 progeny of the cross Qiqnizhan/RGDU07097-1-MAS-8-9-B-1 was selected with genetic background was 98%, 96.5% and 92.5%, respectively. The selected BC2F1 plants were self-pollinated to produce BC2F2 progenies. The BC2F2 progenies obtained were tested for disease resistance.

โรคขอบใบแห้งในข้าวมีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas oryzae pv. oryzae (Xoo.) สามารถเข้าทำลายได้ทุกระยะการเจริญเติบโตของต้นข้าวตั้งแต่ระยะกล้าถึงระยะออกรวง ส่งผลให้ผลผลิตข้าวลดลงถึงร้อยละ 80 การควบคุมการระบาดของโรคมีหลายวิธี การใช้พันธุ์ข้าวที่ต้านทานต่อโรคขอบใบแห้งเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุด แต่พันธุ์ข้าวที่ต้านทานต่อโรคมีจำนวนน้อย และไม่สามารถต้านทานโรคในแบบกว้างได้ เชื้อโรคขอบใบแห้งมีหลายสายพันธุ์จึงจำเป็นต้องปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้ต้านทานต่อโรคจากเชื้อสาเหตุหลายสายพันธุ์ภายในต้นเดียว การปรับปรุงพันธ์ข้าวต้านทานโรคขอบใบแห้งโดยผสมพันธุ์ระหว่างสายพันธุ์ RGDU07097-1-MAS-8-9-B-1 ที่มียีนต้านทานโรคขอบใบแห้ง xa5 และ Xa21 ใช้เป็นพันธุ์ให้ (donorparent) ผสมกับพันธุ์ Qiqnizhan ซึ่งมีลักษณะทรงต้นดีและให้ผลผลิตสูงเป็นพันธุ์รับ (recurrent parent) เพื่อผลิตลูกผสมรุ่น F1 และผสมกลับกับพันธุ์รับเพื่อผลิตลูกผสมรุ่น BC1F1 และผสมกลับกับข้าวพันธุ์รับเพื่อผลิตลูกผสมรุ่น BC2F1 โดยในการผสมกลับแต่ละรุ่นจะคัดเลือกต้นที่มียีน xa5และ Xa21 และคัดเลือกต้นข้าวที่มีลักษณะพื้นฐานพันธุกรรม (genetic background) ใกล้เคียงพันธุ์รับมากที่สุดด้วยเครื่องหมายโมเลกุล พบว่า ต้น BC2F1 จำนวน 3 ต้น มีพื้นฐานพันธุกรรมสูงสุด คือ ร้อยละ 98 96.5 และ 92.5 ตามล าดับ จากนั้นปลูกต้น BC2F1 ปล่อยให้ผสมตัวเองเพื่อผลิตลูกผสมรุ่น BC2F2 และปลูกต้น BC2F2 เพื่อทดสอบปฏิกิริยาความต้านทานต่อโรคขอบใบแห้งร่วมกับการคัดเลือกด้วยเครื่องหมายดีเอ็นเอต่อไป
Tipo:  Collection
Idioma:  Thailandês
Identificador:  [Proceeding of rice research conference 2014: Rice research center groups in central, western and eastern region], Suphan Buri (Thailand), p. 65-73

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5929

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการข้าว กลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคกลางและตะวันตก และกลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคตะวันออก ประจำปี 2557, สุพรรณบุรี หน้า 65-73
Formato:  234 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสาร นี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional