Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การทดสอบเสถียรภาพของสารหอม 2-Acetyl-1-pyrroline ในเมล็ดถั่วเหลืองฝักสด
Stability parameter of 2-Acetyl-1-Pyrroline in aromatic vegetable soybean seed
Autores:  Ruangchai Juwattanasomran
Pornpan Poopompan
Sugunya Wongpornchai
Suk-Ha Lee
Prakit Somta
Peerasak Srinives
Data:  2012-10-18
Ano:  2011
Palavras-chave:  Soybean
Stability analysis
Full pod
Full seed
2AP
2-acetyl-1-pyrroline
ถั่วเหลือง
การวิเคราะห์เสถียรภาพ
เมล็ดเต่ง
ฝักเต่ง
ปริมาณสารหอม
Resumo:  In this study, quantification and stability analysis of 2-Acetyl-1-pyrroline (2AP) in different growth stages of two fragrant soybean cultivars, Chamame and Kaori, and one non-fragrant soybean cultivar, Chiang Mai 60 (CM60), grown for seven environments at Maejo University were reported. The results revealed that 2AP concentration was the highest in full seeds at R6 stages, followed by in leaves at V5 and in full pods at R6 being 6.21, 3.08 and 2.58, respectively. The seven environments were divided in into 4 groups. Group I comprised rainy seasons in 2009 and 2010, group II composed of dry seasons in 2008, 2009 and 2010, and group III and IV contained only rainy season in 2008 and 2009, respectively. The means of 2AP in Chamame and Kaori were not statistically different, but they were significantly different from that of CM60 being 0.382765, 0.341445 and 0.020893 in that order. None of the cultivars was stable for 2AP concentration.

การวิเคราะห์หาปริมาณสารหอม 2-Acetyl-1-pyrroline (2AP) ในระยะการเจริญเติบโตของถั่วเหลืองหอมพันธุ์คาโอริและการวิเคราะห์หาเสถียรภาพของปริมาณสารหอม 2AP ในถั่วเหลือง 3 พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์คาโอริ พันธุ์ชามาเมะ และ พันธุ์เชียงใหม่ 60 ภายใต้สภาพแวดล้อมการทดลอง 7 ฤดู ปลูกที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่ ผลการทดลองพบว่า ปริมาณสารหอม (2AP) พบมากที่สุดในเมล็ดเต่ง (R6) รองลงมาได้แก่ ในระยะใบประกอบชุดที่ 4 คลี่กางเต็มที่ (V5) และในฝักระยะฝักเต่ง (R6) มีค่าเท่ากับ 6.21 3.08 และ 2.58 ตามลำดับ การจัดกลุ่ม ของสภาพแวดล้อมที่มีความใกล้เคียงกันแบ่งได้ 4 กลุ่ม โดยกลุ่มที่1 มี 2 ฤดูฝน 2552 และ 2553 กลุ่มที่ 2 มี 3 ฤดูแล้ง 2551และ 2552 และ 2553 ส่วนกลุ่มที่ 3 และ 4 มีเพียงฤดูฝน 2550 และ 2551ตามลำดับ ส่วนพันธุ์ที่มีความใกล้เคียงกันจัดได้ 2 กลุ่มคือ กลุ่มพันธุ์ถั่วเหลืองหอม และ กลุ่มพันธุ์ไม่หอม เมื่อทำการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยจากทั้ง 7 ฤดู พบว่า พันธุ์คาโอริ และพันธุ์ชามาเมะ มีปริมาณสารหอมสูงที่สุดเท่ากัน ส่วนพันธุ์เชียงใหม่ 60 มีค่าต่ำสุดเท่ากับ 0.382765 0.341445 และ 0.020893 ตามลำดับ โดยไม่พบพันธุ์ที่มีเสถียรภาพในการให้ปริมาณสารหอมสูงคงที่ในทุกฤดู
Tipo:  Collection
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5196

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2011, V. 39, Suppl. 3, p. 97-105

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2554, ปีที่ 39, ฉบับพิเศษ 3, หน้า 97-105
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional