Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การวิจัยค่าดัชนีพื้นที่ใบข้าวในข้าวพันธุ์ดีที่มีการใส่ปุ๋ยที่แตกต่างกัน ที่ศูนย์วิจัยข้าวคลองหลวง
Research on leaf area index in the recommended rice varieties with different rate of fertilizer application at Khlong Luang Rice Research Center
Autores:  Khemporn Petcharaporn
Amorntat Inman
Data:  2016-02-26
Ano:  2015
Palavras-chave:  Leaf area index
Recommended rice varietries
Fertilizer rate
ดัชนีพื้นที่ใบ
ข้าวพันธุ์รับรอง
อัตราปุ๋ยเคมี
Resumo:  In order to research on Leaf Area Index (LAI) in the recommended rice varieties with different rate of fertilizer application during 2014 at Khlong Luang Rice Research Center. An experiment as Split plot in RCB with 4 replications, main plot were 3 recommended rice varieties: RD49 RD31 and PTT1 and sub plot were fertilizer application rates : 0-0-0 12-6-6 and 30-6-6 N-P2O5-K2O kg per rai. Character measured was Leaf Area Index (LAI) in 3 recommended rice varieties at 30 50 70 90 days after planting. The result indicated that RD49 RD31 and PTT1 rice varieties Leaf Area Index maximum for 3 varieties was obtained at flowering stage (80 days after transplanting) and then it was reduced due to the wilting and falling of lower leaves. RD49 had the highest LAI and after that PTT1 and RD31 respectively. The result shown that rice variety and fertilizer rate have effect on Leaf Area Index (LAI).

การทดลองในครั้งนี้เพื่อวิจัยค่าดัชนีพื้นที่ใบข้าวในข้าวพันธุ์ดีที่มีการใส่ปุ๋ยที่แตกต่างกัน วางแผนการทดลองแบบ Split plot in RCB มี 4 ซ้ำ ปี 2557 ดำเนินงานที่ศูนย์วิจัยข้าวคลองหลวง ปัจจัยหลัก คือ พันธุ์ข้าว 3 พันธุ์ ได้แก่ กข49 กข31 และปทุมธานี 1 ปัจจัยรองคืออัตราปุ๋ยเคมี 3 อัตรา ได้แก่ 0-0-0 12-6-6 และ 30-6-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ ทำการบันทึกข้อมูลดัชนีพื้นที่ใบที่ระยะเวลา 30 50 70 80 และ 90 วันหลังหว่านข้าว ผลการทดลองพบว่าข้าวในทั้ง 3 พันธุ์จะมีค่าดัชนีพื้นที่ใบแตกต่างกันโดยค่าดัชนีพื้นที่ใบเพิ่มขึ้นตามอัตราปุ๋ย และจะเพิ่มสูงสุดที่ 80 วันหลังหว่านข้าว ซึ่งเป็นช่วงที่ข้าวอยู่ในระยะการสร้างช่อดอก ซึ่งเป็นระยะแตกกอสูงสุดหรือแตกกอเต็มที่ หลังจาก 80 วันไปแล้วค่าดัชนีพื้นที่ใบข้าวจะลดลงเนื่องจากใบเหี่ยวแห้งและใบมีจำนวนลดลง ข้าวพันธุ์ กข49 จะมีค่าดัชนีพื้นที่ใบสูงกว่า ปทุมธานี 1 และ กข31 ในทุกอัตราปุ๋ยเคมี ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่าพันธุ์ข้าวและอัตราปุ๋ยเคมีมีผลต่อค่าดัชนีพื้นที่ใบ
Tipo:  Collection
Idioma:  Thailandês
Identificador:  [Proceeding of rice research conference 2014: Rice research center groups in central, western and eastern region], Suphan Buri (Thailand), p. 13-18

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5913

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการข้าว กลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคกลางและตะวันตก และกลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคตะวันออก ประจำปี 2557, สุพรรณบุรี หน้า 13-18
Formato:  234 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสาร นี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional