Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ศักยภาพของเชื้อ Streptomyces-PR87 ปฏิปักษ์ และวิธีการใช้สำหรับควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม (Meloidogyne incognita) ในสภาพโรงเรือนปลูกพืชทดลอง
The potential of antagonistic Streptomyces -PR87 and application method to control root knot nematode (Meloidogyne incognita) in green house condition
Autores:  Rattikan Yutthasin
Petcharat Thummabenjapone
Anan Hiransalee
Data:  2015-06-04
Ano:  2013
Palavras-chave:  Tomato
Tomato nematode
Root-knot nematode
Actinomycetes
Streptomyces-PR87
Microorganism
Biocontrol
Plant disease control
Pest control methods
มะเขือเทศ
ไส้เดือนฝอยรากปม
โรครากปม
แอคติโนมัยซีส
เชื้อจุลินทรีย์
เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์
การควบคุมศัตรูพืช
การควบคุมโรค
การควบคุมโดยชีววิธี
Resumo:  The root-knot nematode (Meloidogyne incognita) caused root knot disease of several economic crops. This research aims to evaluate the potential of antagonistic Streptomyces-PR87 to control root knot nematode under laboratory condition and determines the suitable application to tomato root knot disease on under green house condition. The results showed that the culture filtrate of Streptomyces-PR87 obtained from 7 days old culture in Arginine glycerol mineral salt broth at concentration of 50, 75 and 100% significantly inhibited egg hatching of M. incognita at average of the number of second-stage juvenile (J2) larvae per 5 egg masses with 37.67, 6.67 and 3.33 larvae of J2 per 5 egg masses, respectively compared of 136.33 J2 from 5 egg masses in distilled water. The J2 larvae were completely killed within 48 hours by the 75 and 100% of Streptomyces-PR87 culture filtrate solutions. In green house condition, all application methods of antagonistic Streptomyces-PR87 significantly reduced root gall index and number of egg per root system of two varieties of tomato (Sida and Petlanna 731) compared to disease control treatment. For variety Petlanna 731, all application methods including drenching with culture filtrate, or drenching with cell suspension or using Strep-peat moss mixed in medium and before transplanting were decreased the severity of root knot disease by 46.80 20.00 and 36.00%, respectively, and number of root knot nematode eggs retrieved per root of tomato plant were decreased by 33.36,19.10 and 37.36%, respectively, compared to disease control which as well as chemical nematicide treatment was decreased 22.73%. For tomato var. Sida, the most appropriate application method to control root knot disease was drenching with culture filtrate or drenching with cell suspension decreased root knot disease by 46.11 and 10.18% and decreased eggs per root system by 66.88 and 52.34% compared to disease control

ไส้เดือนฝอยรากปม (Meloidogyne incognita) เป็นสาเหตุโรครากปมของพืชเศรษฐกิจหลายชนิด งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิภาพของเชื้อปฏิปักษ์ Streptomyces- PR87 ในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปม M. incognita ในระดับห้องปฏิบัติการและโรงเรือนปลูกพืชทดลอง ผลการวิจัยพบว่า น้ำเลี้ยงเชื้อ Streptomyces-PR87 ที่เลี้ยงในอาหาร Arginine glycerol mineral salt broth นาน 7 วัน ที่ระดับความเข้มข้น 50, 75 และ 100% สามารถยับยั้งการฟักไข่ของไส้เดือนฝอยรากปมได้อย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (P<0.01) จำนวนเฉลี่ยของ J2 ต่อ 5 กลุ่มไข่คือ 37. 67, 6.67 และ 3.33 ตัว ตามลำดับ เปรียบเทียบกับการฟักไข่ในน้ำมีตัวอ่อน J2 เฉลี่ย 136.33 ตัว ความเข้มข้นของน้ำเลี้ยงเชื้อ Streptomyces-PR87 ที่ทำให้ตัวอ่อน J2 ตายได้ 100% ภายใน 48 ชั่วโมง คือความเข้มข้น 75และ 100% ผลการวิจัยในสภาพโรงเรือน พบว่า การใช้เชื้อ Streptomyces- PR87 ทุกรูปแบบช่วยลดการเกิดโรครากปมมะเขือเทศและลดจำนวนไข่ต่อระบบรากของมะเขือเทศทั้งสองสายพันธุ์ที่นำมาทดสอบ (พันธุ์สีดาและเพชรลานนา 731) ได้อย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ โดยในมะเขือเทศพันธุ์เพชรลานนา 731 กรรมวิธีที่ใช้เชื้อทั้งในรูปแบบน้ำเลี้ยงเชื้อ หรือ สารแขวนลอยเซลล์ตั้งแต่ระยะกล้าถึงย้ายปลูก หรือใช้หัวเชื้อพีทมอสตั้งแต่เพาะกล้าและรองก้นหลุมปลูก ลดการเกิดโรครากปมได้ 46.80, 20.00 และ 36.00% ตามลำดับ และลดจำนวนไข่ต่อระบบรากได้ 33.36, 19.10 และ 37.36 % ตามลำดับ ซึ่งมีประสิทธิภาพ ไม่แตกต่างทางสถิติกับการใช้สารเคมีกำจัดไส้เดือนฝอยที่ลดจำนวนไข่ต่อระบบรากได้ 22.73 % ส่วนในมะเขือเทศพันธุ์สีดา พบว่ากรรมวิธีที่ใช้น้ำเลี้ยงเชื้อ หรือ สารแขวนลอยเซลล์ ตั้งแต่ระยะกล้าจนถึงย้ายปลูก ลดการเกิดโรครากปมได้ 46.11 และ 10.18% และลดจำนวนไข่ของไส้เดือยฝอยได้ดีที่สุด คือ 66.88 และ 52.34%
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5786

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2013, V. 41, Suppl. 1, p. 213-219

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2556, ปีที่ 41, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 213-219
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional