Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การสร้างแบบจำลองการเคลื่อนย้ายของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล จากข้อมูลการระบาดในจังหวัดชัยนาท
Forecasting model of brown planthopper migration using outbreak data sets in Chai Nat
Autores:  Chairat Channoo
Narisra Jumroonwong
Data:  2015-05-08
Ano:  2014
Palavras-chave:  Paddy field
Rice production
Brown plant hopper
Migration
Forecasting model
Nilaparvata lugens
Outbreak
Products damage
Pest monitoring
Chainat province
แบบจำลองทางคณิตศาสตร์
การเคลื่อนย้ายประชากร
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
นาข้าว
การปลูกข้าว
การระบาดของแมลงศัตรูพืช
การพยากรณ์เตือนภัยการระบาด
ความเสียหายของผลผลิต
การสำรวจข้อมูล
จ.ชัยนาท
Resumo:  Survey in paddy field in 2013 amount 54 fields as follow : Mueang Chai Nat 13 fields, Manorom 6 fields, Watsing 5 fields, Sapphaya 7 fields, Sankaburi 9 fields, Hankha district 10 fields, Nakhonsawan 1 field, Uthithani 1 field, Singburi 1 field and Suphanburi province 1 field. We begin survey at 15 days after planting to 90 days and used outbreak data sets by week from Department of Agricultural Extension for decision. The survey results show that brown planthopper high in 2 times per year. The first time is in February to March in Mueang Chai Nat and Hankha district because of brown planthopper outbreak in Suphanburi, migrated to Hankha district and influence of southern wind. The second time is in July to August in Mueang Chai Nat, Hankha and Sankaburi district after that brown planthopper migrated to Manorom and Sapphaya district by influence of southwest wind. The conclusion, Forecasting model show that brown planthopper migrated to close area always, influence from wind, the original of outbreak is in susceptible variety (Pathum Thani 1) and we can used outbreak data sets for decision.

ดำเนินการสุ่มสำรวจแปลงนาเกษตรกรจังหวัดชัยนาทในปี 2556 จำนวน 54 แปลง ใน 6 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองชัยนาท 13 แปลง อำเภอมโนรมย์ 6 แปลง อำเภอวัดสิงห์ 5 แปลง อำเภอสรรพยา 7 แปลง อำเภอสรรคบุรี 9 แปลง อำเภอหันคา 10 แปลง และจังหวัดที่มีเขตติดต่อกับจังหวัดชัยนาท จังหวัดละ 1 แปลง ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานี สิงห์บุรี และสุพรรณบุรี เริ่มดำเนินการสุ่มสำรวจตั้งแต่ข้าวอายุ 15 วันหลังหว่าน จนถึงข้าวอายุ 90 วัน และใช้ข้อมูลรายงานการระบาดรายสัปดาห์ของกรมส่งเสริมการเกษตรเพื่อประกอบการตัดสินใจ ผลการสุ่มสำรวจพบว่าช่วงเดือนที่มีจำนวนเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลมาก 2 ช่วง ได้แก่ ช่วงที่ 1 เดือนกุมภาพันธ์ ถึง มีนาคม ในเขตอำเภอเมืองชัยนาทและอำเภอหันคา เนื่องจากมีรายงาน การระบาดในจังหวัดสุพรรณบุรีช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ โดยเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลเคลื่อนย้ายจากจังหวัดสุพรรณบุรีเข้าเขตอำเภอหันคาเนื่องจากมีพื้นที่ติดต่อกันและมีอิทธิพลของกระแสลมฝ่ายใต้ร่วมด้วย ช่วงที่ 2 เดือนกรกฎาคมถึงสิงหาคมในเขตอำเภอเมืองชัยนาท อำเภอหันคาและอำเภอสรรคบุรี หลังจากนั้นเคลื่อนย้ายไปอำเภอมโนรมย์และสรรพยา มีอิทธิพลของกระแสลมตะวันตกเฉียงใต้พัดขึ้นมาร่วมด้วย สรุปได้ว่าแบบจำลองการเคลื่อนย้ายของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลจะเคลื่อนย้ายไปในพื้นที่เขตอำเภอที่ติดต่อกันเสมอ มีอิทธิพลของกระแสลมช่วยในการเคลื่อนย้าย จุดเริ่มต้นการระบาดในแปลงที่ปลูกข้าวพันธุ์อ่อนแอ ได้แก่ พันธุ์ปทุมธานี 1 และสามารถใช้ข้อมูลรายงานการระบาดรายสัปดาห์ร่วมตัดสินใจได้
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  [Proceeding of rice research conference 2014: Rice research center groups in upper and lower northern region], Chainat (Thailand), p. 196-210

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5678

เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการกลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคเหนือตอนบนและภาคเหนือตอนล่าง ประจำปี 2557, ชัยนาท, หน้า 196-210
Formato:  434 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสาร นี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional