Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ความหลากหลายของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในระบบนิเวศข้าวไร่ ที่อำภอบ้านแฮด จังหวัดขอนแก่น
Diversity and community structure of arthropods in upland rice ecosystem of Ban Had district, Khon Kaen province, Thailand
Autores:  Patchai Souksai
Yupa Hanboonsong
Data:  2015-06-09
Ano:  2013
Palavras-chave:  Arthropods
Upland rice ecosystem
Community structure
Diversity
Rice growth
Pest control program
Ban Had district
Khon Kaen province
Northeast
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ระบบนิเวศข้าวไร่
โครงสร้างประชากร
อนุกรมวิธาน
ความหลากหลาย
จ.ขอนแก่น
Resumo:  The research studies an arthropod community in upland rice ecosystem at farmers’ field in Ban Had District, Khon Kaen Province, Northeast Thailand, was conducted during May to October 2011. Samples were collected using light traps, yellow sticky traps, sweep nets and visual observation methods. A total of 7,195 individual arthropods from 160 species were recorded in this study. Among the sampling methods, 140 species were recorded using light trap, followed by 108, 58 and 30 species collected by using yellow sticky trap, sweep net and visual observation, respectively. The arthropod community of this studies constituted of four guilds as phytophagous, predator, parasitoid and scavenger. The predator (60.93 % of total individuals and 47.17% of total species) was the most abundant group followed by phytophagous (30.72 % of total individuals and 33.33% of total species),scavenger (7.39 % of total individuals and 15.09% of total species) and parasitoids (0.95% total individuals and 4.40% of total species). Among the arthropod species diversity found in upland rice ecosystem, the highest number of insect species belonged to order Coleoptera, especially dominated by phytophagous beetles in family Scarabaeidae and predator in families Staphylinidae, Carabidae and Coccinellidae. The second highest insect recorded belonged to orders Homoptera and Hemiptera of phytophagous dominated by rice pest leafhoppers and planthoppers in the families Cicadellidae, Delphacidae and predators in family Miridae. The third insect group was order Hymenoptera consisting parasitoid and scavenger groups, dominated by families Braconidae and Formicidae. In terms of community structure of different rice growth stage, higher number of predators and phytophagous were recorded at vegetative stage than reproductive and ripening stage of crop growth. In conclusion, arthropods diversity in upland rice field ecosystem had diverse taxonomic groups and functional groups of predators and phytophagous insects were the most abundant and predominant guild in this study

การศึกษาประชากรของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในระบบนิเวศข้าวไร่ในพื้นที่เกษตรกร อ.บ้านแฮด จ.ขอนแก่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึง ตุลาคม 2554 โดยเก็บตัวอย่างแมลงด้วยกับดักแสงไฟ กับดักกาวสีเหลือง สวิงโฉบ และ วิธีการสำรวจด้วยตาเปล่า ในการศึกษาครั้งนี้พบจำนวนสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังทั้งหมด 160 ชนิด 7,195 ตัว ซึ่งเป็นตัวอย่างที่ได้จากกับดักแสงไฟทั้งหมด 140 ชนิด กับดักกาวสีเหลือง 108 ชนิด สวิงโฉบ 58 ชนิด และวิธีการเดินสำรวจด้วยตาเปล่า 30 ชนิด จากการศึกษานี้พบประชากรของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังประกอบ ด้วย 4 กลุ่ม คือกลุ่มกินพืชเป็นอาหาร ตัวห้ำ ตัวเบียน และกินซากพืชซากสัตว์เป็นอาหาร โดยพบกลุ่มแมลงตัวห้ำมากที่สุด (60.93% ของจำนวนตัวรวม และ 47.17% ของจำนวนชนิดรวมทั้งหมด) กลุ่มกินพืชเป็นอาหาร (30.72%ของจำนวนตัวรวม และ 33.33% ของจำนวนชนิดรวมทั้งหมด),กลุ่มกินซากพืชซากสัตว์ (7.39% ของจำนวนตัวรวม และ 15.09% ของจำนวนชนิดรวมทั้งหมด) และกลุ่มตัวเบียน (0.95% ของจำนวนตัวรวม และ 4.40% ของจำนวนชนิดรวมทั้งหมด)ตามลำดับ ชนิดของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่พบในระบบนิเวศข้าวไร่สูงสุด คือ กลุ่มที่ 1 อันดับ Coleoptera โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้วงที่กินพืชเป็นอาหาร วงค์ Scarabaeidae กลุ่มแมลงตัวห้ำ วงค์ Staphylinidae Carabidae และ Coccinellidae กลุ่มที่ 2 อันดับ Homoptera และ Hemiptera พบแมลงศัตรูข้าวที่สำคัญ ได้แก่เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล วงค์ Delphacidae และเพลี้ยจักจั่น วงค์ Cicadellidae และกลุ่มแมลงตัวห้ำ วงค์ Miridae กลุ่มที่ 3 อันดับ Hymenoptera ประกอบด้วย แมลงตัวเบียน และ กลุ่มกินซากพืชซากสัตว์เป็นอาหาร โดยพบวงค์ที่สำคัญได้แก่ วงค์ Braconidae และ Formicidae ส่วนโครงสร้างประชากรของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังของระยะการเจริญเติบโตของข้าวที่แตกต่างกันพบกลุ่มแมลงและจำนวนที่ต่างกัน ซึ่งกลุ่มตัวห้ำและกลุ่มกินพืชเป็นอาหารพบในระยะข้าวแตกกอมากกว่าระยะข้าวตั้งท้องและระยะข้าวสุกแก่ ดังนั้นสรุปได้ว่าความหลากหลายของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในระบบนิเวศข้าวไร่มีจำนวนชนิดและความหลากหลายของการอยู่ร่วมกันของแมลงตัวห้ำและกลุ่มแมลงกินพืชเป็นอาหารเป็นกลุ่มแมลงที่มีมากและเป็นตัวสำคัญของระบบนิเวศ
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Inglês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5794

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2013, V. 41, Suppl. 1, p. 135-141

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2556, ปีที่ 41, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 135-141
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional