Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ผลของการให้หัวอาหารโปรตีนสูง เพื่อเพิ่มผลผลิตโคนมในฟาร์มเกษตรกรรายย่อย ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย
Feeding of high protein premix to improve dairy production in smallholder dairy farms in the northeastern region of Thailand
Autores:  Metha Wanapat
Suban Foiklang
Surat Sukjai
Perm Tamkhonburi
Nirawan Anantasook
Pongsatorn Gunun
Kampanat Phesatcha
Data:  2015-05-25
Ano:  2014
Palavras-chave:  Dairy crossbreds
Smallholder dairy farms
Animal feeding
Protein mixture
Chemical composition
Milk production
Northeastern
โคนม
พันธุ์โฮสไตน์ฟรีเชี่ยน
พันธุ์ผสม
ฟาร์มเกษตรกรรายย่อย
การให้อาหารสัตว์
หัวอาหาร
อาหารโปรตีน
การย่อยอาหาร
องค์ประกอบทางเคมี
ผลผลิตน้ำนม
คุณภาพน้ำนม
การเพิ่มผลผลิต
ผลตอบแทน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Resumo:  The objective of this study was to investigate the effect of high protein premix on milk production in lactating dairy crossbreds on 15 smallholder dairy farms. Randomized complete block design (RCBD) was employed using 60 lactating cows by using each farm as a block. Four cows per farm were subjected into 2 groups to receive traditional concentrate diet (control) and protein premix mixed with the energy source to contain 18% CP. All cows were received ruzi grass as a roughage source ad libitum. The results were revealed that cows received protein mixture had higher organic matter and crude protein digestibility than those in the control group (P<0.05). Milk yield and 3.5% fat corrected milk was significantly higher (P < 0.05) in cows fed with protein mixture. Moreover, milk income and the profit from milk sale were significantly higher (P < 0.05) in cows fed with protein mixture. On-farm use of protein mixtureremarkably improved digestibility and increased profitability of small dairy farms. Therefore, this protein mixture is highly recommended to prepare as on-farm for use to improve small dairy farming in the northeastern region of Thailand.

วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้คือ เพื่อศึกษาผลของการให้หัวอาหารสูตรโปรตีนสูงต่อการให้ผลผลิตน้ำนมของโคนมลูกผสมพันธุ์โฮสไตน์ฟรีเชี่ยนในฟาร์มเกษตรกรรายย่อย 15 ฟาร์ม จำนวนโครีดนม 60 ตัว ใช้แผนการทดลองแบบ Randomized complete block design (RCBD) โดยใช้ฟาร์มเป็นบล็อค และโคนม 4 ตัวในแต่ละฟาร์มถูกแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ซึ่งกลุ่มแรกกำหนดให้ได้รับอาหารข้นปกติที่ใช้ในฟาร์ม (กลุ่มควบคุม) และกลุ่มที่สองให้กินหัวอาหารสูตรโปรตีนสูงผสมกับแหล่งคาร์โบรไฮเดรตที่ใช้ในฟาร์มให้มีโปรตีนอยู่ที่ 18 เปอร์เซ็นต์โดยทั้งสองกลุ่มให้หญ้ารูซี่เป็นอาหารหยาบแบบเต็มที่ ผลการศึกษาพบว่า โคนมที่ได้รับหัวอาหารโปรตีนมีความสามารถในการย่อยได้ของอินทรียวัตถุ และโปรตีนหยาบสูงกว่ากลุ่มควบคุม (P < 0.05) ผลผลิตน้ำนมและ 3.5% fat corrected milk ในกลุ่มโคนมที่ได้รับหัวอาหารโปรตีนก็มีค่าสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.05) นอกจากนี้ ยังพบว่ารายได้และผลกำไรจากการจำหน่ายนมในกลุ่มโคนมที่ได้รับหัวอาหารโปรตีนก็มีค่าสูงกว่ากลุ่มควบคุม (P < 0.05) การให้หัวอาหารโปรตีนนั้น ให้ผลการศึกษาที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่งในการช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์ของอาหารและเพิ่มผลกำไรให้แก่ฟาร์มเกษตรกรรายย่อย ดังนั้นจึงเหมาะอย่างยิ่งในการแนะนำให้ใช้ประโยชน์ของหัวอาหารโปรตีนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบการให้อาหารและการเลี้ยงโคนมในฟาร์มเกษตรกรรายย่อยในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Inglês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5743

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2014, V. 42, Suppl. 1, p. 7-13

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2557, ปีที่ 42, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 7-13
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional