Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การตรึงไนโตรเจนของจุลินทรีย์อิสระในดินและผลกระทบที่มีต่อผลผลิตของข้าวโพดหวานในระบบการปลูกแบบไม่ไถพรวน
Nitrogen fixation of free living microorganisms and their effects on sweet corn yield in no tillage system
Autores:  Arunee Kongsorn
Thongchai Mala
Siwaporn Toopakuntho
Suphachai Amkha
Data:  2012-05-08
Ano:  2010
Palavras-chave:  Sweet corn
Azospirillum
Azotobacter
Nitrogen fixation
No tillage
ข้าวโพดหวาน
อะโซสไปริลลัม
อะโซโตแบคเตอร์
การตรึงไนโตรเจน
จุลินทรีย์ดิน
การไม่ไถพรวน
ปุ๋ยพืชสด
ปุ๋ยเคมี
การใส่ปุ๋ย
ผลผลิต
คุณภาพ
Resumo:  Experimental design was split plot in randomized complete block design with 4 replications. Main plot consisted of conventional tillage and no tillage while sub plot consisted of 1) control 2) normal rate of chemical fertilizer 3) half rate of chemical fertilizer 4) azotobacter inoculation 5) azospirillum inoculation 6) soybean green manure and 7) mungbean green manure. The results showed no significant of nitrogen fixing microorganisms population, efficiency of nitrogen fixation and yield in various tillage systems, but various types of fertilizers had significant effect on them. The population of azotobacter and azospirillum were increased in application azotobacter and azospirillum treatments. Azotobacter treatment had the highest nitrogen fixation in soil (3.35 mg N/hr/square m), while those of azospirillum, soybean green manure and mungbean green manure treatments were lower, respectively. Nitrogen fixation in root from azospirillum treatment was the highest (0.04 mg N/hr/square m). The standard ears from normal rate of chemical fertilizer treatment was the highest (1,539 kg/rai), while those from azotobacter, azospirillum and mungbean green manure treatments were appeared in the same level as that from the treatment of half rate of chemical fertilizer. However the standard ears of control treatment was the lowest (947 kg/rai).

6 ill., 3 tables

วางแผนการทดลองแบบ split plot in randomized complete block design จำนวน 4 ซ้ำ ประกอบด้วย main plot เป็นระบบการปลูกพืชมี 2 ปัจจัย ได้แก่ การไถพรวนแบบปกติ และการไม่ไถพรวน และ sub plot 7 ปัจจัย ได้แก่ 1) ตำรับควบคุม (control) 2) ปุ๋ยเคมีอัตราปรกติ 3) ปุ๋ยเคมีครึ่งหนึ่งของอัตราปรกติ 4) เชื้ออะโซตแบคเตอร์ 5) เชื้ออะโซสไปริลลัม 6) ปุ๋ยพืชสดถั่วเหลือง 7) ปุ๋ยพืชสดถั่วเขียว ผลการทดลองพบว่า ระบบการปลูกที่แตกต่างกันไม่มีผลต่อปริมาณเชื้ออะโซโตแบคเตอร์และเชื้ออะโซสไปริลลัม ประสิทธิภาพการตรึงไนโตรเจน รวมถึงปริมาณผลผลิตของข้าวโพดหวาน แต่การใช้ปุ๋ยที่แตกต่างกันมีผลต่อลักษณะดังกล่าว คือ การใส่เชื้ออะโซโตแบคเตอร์ และเชื้ออะโซสไปริลลัมส่งผลให้มีปริมาณเชื้ออะโซโตแบคเตอร์ และเชื้ออะโซสไปริลลัมในดินเพิ่มมากขึ้น และตำรับที่ใส่เชื้ออะโซโตแบคเตอร์มีการตรึงไนโตรเจนในดินสูงที่สุด (3.35 mg N/hr/ตร.ม.) รองลงมาเป็นตำรับที่ใส่เชื้ออะโซสไปริลลัม และการใช้ปุ๋ยพืชสดถั่วเหลืองและถั่วเขียว สำหรับการตรึงไนโตรเจนบริเวณรากนั้นตำรับที่ใส่เชื้ออะโซสไปริลลัมส่งผลให้มีการตรึงไนโตรเจนบริเวณรากพืชมากที่สุด (0.04 mg N/hr/ตร.ม.) ส่วนผลผลิตของข้าวโพดในตำรับที่มีการใช้ปุ๋ยเคมีอัตราปรกติมีน้ำหนักฝักดีสูงที่สุด (1,539 กก./ไร่) ในขณะที่ตำรับที่ใส่เชื้ออะโซโตแบคเตอร์ เชื้ออะโซสไปริลลัมและใช้ปุ๋ยพืชสดถั่วเขียวมีน้ำหนักฝักดีของข้าวโพดไม่แตกต่างกับการใช้ปุ๋ยเคมีครึ่งหนึ่งของอัตราปรกติ ส่วนตำรับที่ให้น้ำหนักฝักดีต่ำที่สุด (947 กก./ไร่) คือ ตำรับควบคุม (control)
Idioma:  Thailandês
Identificador:  Proceedings of the 4th Workshop of Corn and Sorghum Research Project of Kasetsart University: Corn and sorghum yield increasing to improve the quality of life and environmental sustainability, Bangkok (Thailand), p. 204-213

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/4674

การประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการวิจัยแม่บทข้าวโพดและข้าวฟ่าง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 4: เรื่องการเพิ่มผลผลิตข้าวโพดและข้าวฟ่างเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน, กรุงเทพฯ, หน้า 204-213
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional