Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  กระบวนการปฏิบัติเพื่อพัฒนาการจัดการโรคข้าวโพดโดยชีววิธี
Development produced of biological control for disease management of corn
Autores:  Sutruedee Prathuangwong
Supot Kasem
Sunanthanat Nurapak
Waraporn Popakdeepan
Nalina Hemsanit
Data:  2012-05-08
Ano:  2010
Palavras-chave:  Corn
Plant diseases
Antagonist
Dose response
Application pattern
Induced systemic resistance
ข้าวโพด
โรคพืช
การจัดการ
เชื้อปฏิปักษ์
จุลินทรีย์ปฏิปักษ์
จุลินทรีย์ท้องถิ่น
เชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์
ความเข้มข้นที่เหมาะสม
ลักษณะการใช้
การชักนำภูมิต้านทานพืช
การควบคุมโรคโดยชีววิธี
ผลผลิต
Resumo:  Antagonist was applied as either seed or foliar treatments and the efficacy of disease suppression was determined by disease incidence and systemic resistance induction. Under greenhouse, the threshold concentration of each antagonist required for significant (P=0.05) suppression of BLS was 1*10**(6) and 1*10**(8) cfu/ml for seed and foliar spray applications respectively. Combined seed and foliar treatments with antagonist provided higher induction of plant resistance than application either seed or foliar alone, as account by correlated accumulation of defense-related enzyme activity, beta-1,3-glucanase. Field experiment that revealed 54.7 percent severe epidemic of BLS resulted in 62.2 percent disease control respectively according to the experimental model investigated. The procedure threshold of antagonist application obtained in this study including seed bacterization, 3-foliar spray intervals, adjusted to the production cycle of plant when reached 14, 21, and 28 days after planting significantly (P=0.05) provided highest disease suppression (62.2 percent disease control) and increased beta-1, 3-glucanase activity compared to seed bacterization with 2-foliar applications. Increasing frequency of antagonist spray to level higher than 3 times did not result in a significant improvement of disease suppression. The native biocontrol agent alternative used as either seed or foliar spray showed that strain PCL21 gave the best plant growth promotion of corn seedlings and seed germination where P38 demonstrated the higher disease suppression. Combined native strains of PCL21 seed bacterization followed by P38 foliar spray therefore, resulted in highest disease suppression, induction of resistance and yield which their control efficacy was equivalent (P=0.05) to a standard strain SP007s (ISR-P) and recommended chemical control.

2 ill., 5 tables

พบว่าความเข้มข้นของเชื้อปฏิปักษ์ที่เหมาะสมต่อการยับยั้งโรคใบขีดแบคทีเรียได้อย่างแตกต่างทางสถิติ ภายใต้สภาพโรงเรือนทดลองคือ คลุกเมล็ดและพ่นใบด้วยอัตราเชื้อ 1*10**(6) และ 1*10**(8) cfu/ml ตามลำดับ (P=0.05) ในขณะที่การใช้เชื้อปฏิปักษ์ทั้งแบบคลุกเมล็ดร่วมกับการพ่นใบนั้นจะให้ผลควบคุมโรคได้ดีกว่าการคลุกเมล็ดหรือพ่นใบเพียงแบบเดียว โดยพืชแสดงผลที่สัมพันธ์กับการสะสมกิจกรรมเอนไซม์ปกป้องโรค เมื่อนำรูปแบบการใช้เชื้อปฏิปักษ์ไปทดสอบในสภาพไร่ที่มีการระบาดของโรคใบขีดแบคทีเรียโดยมีโรคเกิดรุนแรงตามธรรมชาติ 54.7 เปอร์เซ็นต์นั้น เชื้อปฏิปักษ์สามารถควบคุมโรคได้ 62.2 เปอร์เซ็นต์ โดยใช้กระบวนการที่ปรับปรุงให้เหมาะสม ได้แก่ การใช้เชื้อปฏิปักษ์คลุกเมล็ดร่วมกับพ่นใบเป็นระยะ 3 ครั้ง และปรับเวลาพ่นให้เข้ากับชีพจักรการเจริญของพืช เมื่อมีอายุ 14, 21 และ 28 วัน ตามลำดับ จะให้ผลควบคุมโรคและเพิ่มกิจกรรมของ beta-1,3-glucanase สูงสุด 62.2 เปอร์เซ็นต์ และ 8.75 micro g glucose/min/mg protein ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างจากการคลุกเมล็ดร่วมกับการพ่นใบ 2 ครั้ง แต่ไม่แตกต่าง (P=0.05) จากการคลุกเมล็ดร่วมกับพ่นใบ 4 ครั้ง และพบว่าการใช้เชื้อปฏิปักษ์ท้องถิ่นแบบสลับคลุกเมล็ดหรือพ่นใบด้วยเชื้อ PCL21 ให้ผลส่งเสริมการเจริญเติบโตของต้นกล้าและการงอกของเมล็ดดีที่สุด ขณะที่ P38 ลดโรคระบาดได้สูงสุด การใช้ PCL21 คลุกเมล็ดร่วมกับ P38 พ่นใบ 3 ครั้ง ภายใต้สภาพไร่จึงให้ผลในการควบคุมโรคและชักนำภูมิต้านทานพืช ตลอดจนเพิ่มผลผลิตคุณภาพได้มากที่สุด ซึ่งให้ผลทัดเทียม (P=0.05) กับ SP007s (ISR-P) และการควบคุมโดยสารเคมีที่แนะนำ (copper hydroxide) โดยการปรับใช้เชื้อปฏิปักษ์
Idioma:  Thailandês
Identificador:  Proceedings of the 4th Workshop of Corn and Sorghum Research Project of Kasetsart University: Corn and sorghum yield increasing to improve the quality of life and environmental sustainability, Bangkok (Thailand), p. 243-259

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/4680

การประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการวิจัยแม่บทข้าวโพดและข้าวฟ่าง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 4: เรื่องการเพิ่มผลผลิตข้าวโพดและข้าวฟ่างเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน, กรุงเทพฯ, หน้า 243-259
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional