Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ผลของวิธีการอนุรักษ์ความชื้นดินต่อผลผลิตสบู่ดำ
Effect of soil moisture conservation method on yield of Jatropha
Autores:  Chatchai Worrawetmongkol
Somchai Anusontpornperm
Anchalee Suddhiprakarn
Suphicha Thanachit
Data:  2012-10-12
Ano:  2011
Palavras-chave:  Soil moisture
Jatropha
Mulching
Vetiver grass
Jack bean
สบู่ดำ
การคลุมดิน
หญ้าแฝก
ถั่วพร้า
ความชื้นดิน
ผลผลิต
Resumo:  Study on the effectmethod of soil moisture conservation method on yield of Jatropha, variety KUBP78-9 grown on Ultic Paleustalf, was carried out in order to compare the effect of no soil moisture conservation scheme (W1), plant residue mulch (W2), vetiver grass grown between Jatropha rows, slash and mulch (W3), and jack beanast cover crop (W4) on moisture changes within soil profile and yield of Jatropha. Drip irrigation at a rate of twolitres per plant was operated every two days during drought season (Dec 09-May 10). Results indicated that plant residue mulch tended to give the highest seed yield at 15% moisture content (200 kg rai-1) compared to the range of 130.9-145.3 kg rai-1 obtained from other treatments. Growing vetiver grass between rows of Jatropha then slash andmulch tended to give the greatest oil content of 37.3% in Jatropha seed. The highest total oil yield with the amount of 54.5 kg rai-1 was gained from the scheme using plant residue mulch, which was significantly higher than the ones without soil moisture conservation and jack bean as cover crop (37.6 and 29.9 kg rai-1, respectively). There was indifferent concentration of plant nutrients in Jatropha leaf at two months of age but the concentrations of major nutrients in treatments with vetiver grass and jack bean seemed to be lower than those with Jatropha grown solely. At fruiting stage (6-month old), plant residue mulch and vetiver grass intercropped equally brought on S contents of 0.50 g kg-1, which were significantly higher than did the other two treatments. Sulfer concentration in seed (0.42 g kg-1)obtained from the control and no soil moisture conservation, was significantly higher than those gained from the others.

การศึกษารูปแบบการอนุรักษ์ความชื้นดินต่อการให้ผลผลิตของสบู่ดำพันธุ์ KUBP 78-9 ที่ปลูกในดิน Ultic Paleustalf เพื่อเปรียบเทียบผลของการไม่มีรูปแบบการอนุรักษ์ความชื้น (W1) การใช้เศษเหลือของพืชคลุมดิน (W2) การปลูกหญ้าแฝกระหว่างแถวสบู่ดำและตัดใบคลุมดิน (W3) และการปลูกถั่วพร้าคลุมดิน ระหว่างแถวสบู่ดำ (W4) โดยให้น้ำชลประทานแบบหยดอัตรา 2 ลิตรต่อต้น ทุก 2 วัน ในช่วงฤดูแล้ง (ธ.ค.52-พ.ค.53) ผลการศึกษา พบว่า การคลุมดินด้วยเศษพืชมีแนวโน้มให้ผลผลิตน้ำหนักเมล็ดที่ความชื้นร้อยละ 15 สูงสุด (200 กก./ไร่) เปรียบเทียบตำรับที่เหลือซึ่งมีค่าอยู่ในพิสัย 130.9-145.3 กก./ไร่ การปลูกหญ้าแฝกระหว่างแถวสบู่ดำและตัดใบคลุมดินมีแนวโน้มทำให้ปริมาณน้ำมันในเมล็ดสูงที่สุดเท่ากับร้อยละ 37.3 ในขณะที่ผลผลิตน้ำมันสูงสุดได้จากตำรับที่คลุมดินด้วยเศษพืช (54.5 กก./ไร่) ซึ่งสูงกว่าตำรับที่ไม่มีการคลุมดินและตำรับที่ปลูกถั่วพร้าร่วม (37.6 และ 29.9 กก./ไร่ ตามลำดับ) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติความเข้มข้นของธาตุอาหารหลักในใบสบู่ดำที่อายุ 2 เดือนของตำรับที่มีการปลูกพืชร่วมมีแนวโน้มต่ำกว่าการปลูกสบู่ดำเพียงอย่างเดียว ในระยะที่ติดผล (อายุ 6 เดือน) ตำรับที่มีการคลุมดินด้วยเศษพืช และตำรับที่ปลูกหญ้าแฝกร่วมมีความเข้มข้นของกำมะถันในใบเท่ากันคือ 0.50 ก./กก. ซึ่งสูงกว่าอีกสองตำรับที่เหลืออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ขณะที่ปริมาณกำมะถันในเมล็ดที่ได้จากตำรับที่ไม่มีการคลุมดินกลับสูงที่สุดอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (0.42 ก./กก.)
Tipo:  Collection
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5179

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2011, V. 39, No. 4, p. 333-344

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2554, ปีที่ 39, ฉบับที่ 4, หน้า 333-344
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional