Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การประเมินพันธุ์อ้อยโคลนดีเด่นภายใต้สภาพอาศัยน้ำฝน
Evaluation of the promising sugarcane clones under rainfed conditions
Autores:  Nattapat Khumla
Pracha Thumthong
Kanokthip Lertprasertrat
Raweewan Chuekittisak
Sarewat Jattupornpong
Somnuk Kongtian
Manit Suknimit
Data:  2013-03-14
Ano:  2012
Palavras-chave:  Sugarcane
Genetic evaluation
อ้อย
โคลนพันธุ์
การทดสอบพันธุ์
สภาำพอาศัยน้ำฝน
ผลผลิต
ซีซีเอส
Resumo:  Experiment was carried out to test the performance of new promising sugarcane clones series 2008 under rainfed conditions. The objective was to evaluate yield potential and quality of 19 promising sugarcane clones compare with 6 checked cultivars, U-Thong 3, Suphanburi 80, Khon Kaen 3, LK92-11, K84-200 and K99-72 at Nakhon Sawan Field Crops Research Center during Mar 2011- Jan 2012. The trial was laid out in RCBD with 2 replications. Plant cane of 25 cultivars/clones was evaluated. Cane yield and yield attributing characters i.e. cane height, number of internode/cane, number of plant/stool and number of millable cane were recorded. Juice quality viz percent juice extraction and commercial cane sugar (%CCS) in juice were determined at harvesting. Significant (P≤0.01) differences were observed for CCS, sugar yield etc, excluding cane yield, No. of plant/stool and % fiber The results obtained from plant cane only showed that the presence of genetic variability among the genotypes and their differential response to rainfed conditions. NSS08 20-1-5, NSS08 33-1-11 and NSS08 191-20-1 showed the best performances in both cane 22.65, 20.92 and 20.67 tons/rai, respectively) and sugar yields (3.03, 3.40 and 3.23 tons/rai, respectively) which were about 43, 30 and 32 % higher in cane yield than U-Thong 3 and 26, 35 and 42 % higher in sugar yield, respectively. These promising clones will be further evaluated for yielding and ratooning ability

การทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินศักยภาพการให้ผลผลิตของอ้อยโคลนดีเด่น ชุดปี 2551 ภายใต้สภาพอาศัยน้ำฝน จำนวน 19 โคลน เปรียบเทียบกับพันธุ์ตรวจสอบ 6 พันธุ์ ได้แก่อู่ทอง 3 สุพรรณบุรี 80 ขอนแก่น 3 LK92-11 K84-200 และ K99-72 ที่ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ ระหว่างเดือนมีนาคม 2554 ถึง มกราคม 2555 วางแผนการทดลองแบบ RCBD จำนวน 2 ซ้ำ เก็บเกี่ยวเฉพาะอ้อยปลูก ข้อมูลที่ทำการตรวจวัดได้แก่ ผลผลิต องค์ประกอบผลผลิต ลักษณะ ทางการเกษตร เช่น ความสูง จำนวนปล้อง จำนวนลำ เป็นต้น และคุณภาพความหวานได้แก่ค่าบริกซ์ และ ซีซีเอส ผลการทดลองพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติในลักษณะจำนวนลำ ซีซีเอส ผลผลิตน้ำตาล และอื่นๆ ยกเว้นลักษณะผลผลิต จำนวนลำต่อกอ และเปอร์เซ็นต์ไฟเบอร์ โดยแต่ละโคลนแสดงออก และตอบสนองที่ต่างกัน เมื่อปลูก ในสภาพอาศัยน้ำฝน อ้อยโคลน NSS08 20-1-5, NSS08 33-1-11 และ NSS08 191-20-1 มีผลผลิตอ้อย (22.65, 20.92 และ 20.67 ตัน/ไร่) และผลผลิตน้ำตาลสูงที่สุด (3.03, 3.40 และ 3.23 ตัน/ไร่ ตามลำดับ) โดยผลผลิตอ้อย และผลผลิตน้ำตาล สูงกว่าพันธุ์อู่ทอง 3 ประมาณ 43, 30 และ 32 % และ 26, 35 และ 42 % ตามลำดับ ซึ่งโคลนอ้อยเหล่านี้จะนำไปประเมินผลผลิต และความสามารถในการไว้ตอในขั้นตอนอื่นๆ ก่อนที่จะแนะนำให้เกษตรกรได้ใช้ปลูกต่อไป
Tipo:  Collection
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5310

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2012, V. 40, Suppl. 3, p. 37-44

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2555, ปีที่ 40, ฉบับพิเศษ 3, หน้า 37-44
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional