Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การใช้ซิลิก้าจากแร่ภูเขาไฟในการสร้างความทนทานแก่ข้าวเพื่อลดความสูญเสียและลดจำนวนประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล
Reduction of brown planthopper population and enhancement of rice tolerance to minimize losses by silica from volcanic ashes
Autores:  Pailin Nieuwenhuis
Apichart Lawanprasert
Arthit Kukam-oo
Data:  2016-02-26
Ano:  2015
Palavras-chave:  Rice Silica Vocanic ash Brown planthopper Clinoptilolite Pumice
Bentonite ข้าว ซิลิก้า แร่ภูเขาไฟ เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ไคลน๊อฟติโลไลท์ ภูไมท์ เบนโทไนต์
Resumo:  Three kinds of volcanic ashes, namely clinoptilolite, pumice, and bentonite were tested in the year 2014 for the purpose of Si supply in order to increase brown planthopper resistance in rice. Longevity of adults, the number of nymphs, the number of eggs, percentage of hatching eggs, and survival percentage of 1st instar nymphs to adults were studied. Results from farmer’s trial found that silica in the leaf sheath of volcanic ashes plots were significant higher than control. But this amount of increased silica is not enough to control the brown planthopper population. Silica in the leaf sheath of Pathumthani 1 was significant lower than in RD41 and RD47. The amount of brown planthopper in Pathumthani 1 was significant higher than in RD41 and RD47. Rice yield of Pathumthani 1 was significant lower than in RD41 and RD47. In normal situation without the outbreak of brown planthopper, applying volcanic ashes would not increase the rice yield.

ในปี 2557 ทดสอบชนิดของแร่ภูเขาไฟที่มีซิลิก้าที่สามารถลดจำนวนประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล จำนวน 3 ชนิด ได้แก่ แร่ไคลน๊อฟติโลไลท์ ภูไมท์ และเบนโทไนต์ โดยศึกษาอายุยืนนานของตัวเต็มวัย จำนวนตัวอ่อนที่เกิด จำนวนไข่ ร้อยละการฟักไข่ และการมีชีวิตอยู่รอดของตัวอ่อนวัยที่ 1 จนเป็นตัวเต็มวัย ผลการทดสอบในแปลงนาเกษตรกร พบว่า ปริมาณซิลิก้าในกาบใบข้าวในแปลงที่มีการใส่แร่ภูเขาไฟมีปริมาณซิลิก้าสูงกว่าแปลงที่ไม่มีการใส่แร่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ปริมาณซิลิก้าในกาบใบข้าวในแปลงที่มีการใส่แร่ภูเขาไฟมีปริมาณที่ไม่เพียงพอในการลดจำนวนประชากรของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลลงได้ ปริมาณซิลิก้าในกาบใบข้าวของพันธุ์ปทุมธานี 1 มีปริมาณต่ ากว่าปริมาณซิลิก้าในกาบใบข้าวของพันธุ์กข41 และพันธุ์กข47 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจำนวนเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในแปลงข้าวพันธุ์ปทุมธานี 1 มีปริมาณสูงกว่าในแปลงข้าวพันธุ์กข41 และพันธุ์กข47 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลผลิตข้าวพันธุ์ปทุมธานี 1 จึงต่ ากว่าผลผลิตข้าวพันธุ์กข41 และพันธุ์กข47 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อไม่มีการระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล การใส่แร่ภูเขาไฟไม่ทำให้ผลผลิตข้าวเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับแปลงที่ไม่ใส่แร่
Tipo:  Collection
Idioma:  Thailandês
Identificador:  [Proceeding of rice research conference 2014: Rice research center groups in central, western and eastern region], Suphan Buri (Thailand), p. 111-124

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5888

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการข้าว กลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคกลางและตะวันตก และกลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคตะวันออก ประจำปี 2557, สุพรรณบุรี หน้า 111-124
Formato:  234 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสาร นี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional