Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ผลของระดับเนื้อในเมล็ดยางพาราและกากเนื้อในเมล็ดปาล์มนํ้ามันในสูตรอาหารข้นต่อปริมาณการกินได้และกระบวนการหมักในกระเพาะรูเมนในแพะที่ได้รับหญ้าซิกแนลแห้งเป็นอาหารหลัก
Effects of levels of rubber seed kernel and palm kernel cake in concentrate on feed intake and rumen fermentation in goats fed Briachiaria humidicola Schweick hay-based diet
Autores:  Supinya Chujai
Pin Chanjula
Yuthana Siriwathananukul
Apichart Lawpetchara
Data:  2013-02-15
Ano:  2011
Palavras-chave:  Rubber seed kernel
Palm kernel cake
Feed intake
Rumen fermentation
Goats
แพะ
เนื้อในเมล็ดยางพารา
กากเนื้อในเมล็ดปาล์มนํ้ามัน
ปริมาณการกินได้
กระบวนการหมัก
กระเพาะรูเมน
หญ้าซิกแนล
การย่อยได้
Resumo:  This experiment aimed to study effects of levels of rubber seed kernel (RSK; 0, 20 and 30%) and palm kernel cake (PKC; 20 and 30%) in concentrate on dry matter intake and rumen fermentation. Six goats with average liveweight 22±2 kg were randomly assigned according to a 3x2 factorial arrangement in a 6x6 Latin square design to receive six diets. Signal hay was given on an ad libitum basis as the roughage. It was found that, there were interactions between RSK levels and PKC levels with respect to total DMI (kg/d) and goats receiving 30% RSK had lower values (p<0.05) than those receiving 0 and 20% RSK, respectively. Digestion coefficients of nutrients (DM, OM and CP), pH and NH3–N were similar (P>0.05) for all diets and all treatment were within the normal range, whilst, BUN and blood glucose were similar among treatment (P>0.05). Based on this study, RSK levels up to 20% incorporated with PKC at 20-30% in concentrate could be efficiently utilized for goats fed on signal hay. Keywords: Rubber seed kernel, palm kernel cake, feed intake, rumen fermentation, goat

ศึกษาผลของระดับเนื้อในเมล็ดยางพารา (RSK) 3 ระดับ (0, 20 และ 30%) และกากเนื้อในเมล็ดปาล์มนํ้ามัน (PKC) 2 ระดับ (20 และ 30%) ในสูตรอาหารข้นต่อปริมาณการกินได้ และกระบวนการหมักในกระเพาะรูเมนในแพะโดยศึกษาในแพะนํ้าหนักเฉลี่ย 22+2 กก. โดยจัดทรีทเมนท์แบบ 3x2 แฟกตอเรียลในแผนการทดลองแบบ 6x6 จตุรัสลาติน แพะได้รับอาหารข้นที่มีระดับ RSK และ PKC ในสูตรอาหาร 6 สูตร ตามลำดับ ให้แพะได้รับหญ้าซิกแนลแห้งอย่างเต็มที่ ผลการทดลองพบว่ามีอิทธิพลร่วมของ RSK และ PKC ต่อปริมาณการกินได้ทั้งหมด (kg/d) (P<0.05) และแพะที่ได้รับ RSK ระดับ 30% มีค่าตํ่ากว่า (P<0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับที่ระดับ 0 และ 20% ตามลำดับ สัมประสิทธิ์การย่อยได้ของโภชนะ (วัตถุแห้ง อินทรียวัตถุและโปรตีน) กรด-ด่างและแอมโมเนีย-ไนโตรเจนในกระเพาะรูเมน พบว่าทุกกลุ่มมีค่าใกล้เคียงกัน ขณะที่ค่ายูเรีย-ไนโตรเจนในกระแสเลือดและค่ากลูโคสในกระแสเลือด มีค่าไม่แตกต่างกัน (P>0.05) จากผลการทดลองนี้สามารถใช้ RSK ระดับ 20% ร่วมกับ PKC ระดับ 20-30% ในสูตรอาหารข้นแพะ
Tipo:  Collection
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5279

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, Jan-Mar 2011, V. 39, No. 1, p. 43-54

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, ม.ค.-มี.ค. 2554, ปีที่ 39, ฉบับที่ 1, หน้า 43-54
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional