Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ผลการกกลูกไก่เนื้อคุณภาพต่ำในโรงฟักก่อนการเลี้ยงเชิงอุตสาหกรรม ต่ออัตราการรอดระหว่างการขนส่ง สมรรถนะการผลิต และคุณภาพซาก
Effects of hatching in low performance broiler chicks before industrial production on survival rate in transportation, productive performance and carcass percentage
Autores:  Manat-Sanun Nopparatmaitree
Pornpan Seanphoom
Anunyar Panthong
Data:  2013-11-19
Ano:  2013
Palavras-chave:  Brooding
Hatchery
Survival rate
Productive performance
Carcass
Broiler chicks
การกกไก่
โรงฟักไข่
อัตราการรอด
สมรรถนะการเจริญเติบโต
คุณภาพซาก
ลูกไก่เนื้อ
ไก่เนื้อ
Resumo:  This study evaluated the effects of hatching in low performance broiler chicks before industrial production on survival rate and productive performance. Twelve houses of 15,000 birds each, day-old chicks (Ross 308) were assigned to randomized complete block design (RCBD) in a 2×2 factorial arrangement with two factors. Each factor was divided into 3 blocks. Factor A was types of brood (normal and hatchery brood) and factor B was sex (male and female). The results showed that no interaction between survival rate and growth performance in broiler chickens (P>0.05). However, hatchery brood slightly decreased in mortality rate of chickens during transportation and increased survival rate, average daily gain (ADG), average daily feed intake (ADFI), feed conversion ratio (FCR), performance index (PI), average body weight gain per area and compared with ideal body weight more than normal brood (P>0.05). In addition, no interaction between on carcass percentage in broiler chickens. Hence, hatchery brood is a suitable method to increase survival rate and growth performance in low performance broiler chicks before industrial production.

การศึกษาผลการกกลูกไก่เนื้อคุณภาพต่ำจากโรงฟักก่อนการเลี้ยงเชิงอุตสาหกรรมต่ออัตราการรอดและสมรรถนะการเจริญเติบโตของไก่เนื้อ โดยใช้ไก่พันธุ์ Ross 308 ทั้งหมด 12 โรงเรือน โรงเรือนละ 15,000 ตัว วางแผนการทดลองแบบ 2x2 Factorial in RCBD แบ่งเป็น 3 บล็อก 2 ปัจจัย โดยบล็อกคือฝูงไก่ที่เลี้ยงมีทั้งหมด 3 ฝูง ส่วนปัจจัย A คือ วิธีการกกลูกไก่เนื้อที่มีน้ำหนักเฉลี่ยน้อยกว่าปกติคือ น้อยกว่า 38 กรัมแบบ Hatchery Brood และ วิธีการกกลูกไก่เนื้อที่มีน ้ำหนักเฉลี่ยปกติคือมากกว่า 38 กรัมด้วยวิธีธรรมดา ปัจจัย B คือ เพศ แบ่งเป็นเพศผู้ และ เพศเมีย ผลการทดลองพบว่าไม่มีอิทธิพลร่วมระหว่างวิธีการกกลูกไก่เนื้อทั้งสองแบบ และเพศต่ออัตราการรอด และสมรรถนะผลิตของไก่เนื้อ(P>0.05) แต่จะพบว่าวิธีการกกลูกไก่เนื้อที่มีน้ำหนักเฉลี่ยน้อยกว่าปกติแบบ Hatchery Brood จะช่วยลดอัตราการตายจากการขนส่ง และเพิ่มอัตราการรอด น้ำหนักตัวต่อพื้นที่เมื่อสิ้นสุดการทดลอง น้ำหนักตัวเฉลี่ยเทียบกับมาตรฐานน้ำหนักตัวที่เพิ่ม (BWG) อัตราการเจริญเติบโตต่อวัน (ADG) ปริมาณการกินได้เฉลี่ยต่อวัน (ADFI) อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ (FCR) รวมถึงดัชนีประสิทธิภาพการผลิต (PI) ได้เทียบเท่าวิธีการกกลูกไก่เนื้อที่มีน้ำหนักเฉลี่ยปกติคือมากกว่า 38 กรัมแบบ Normal Brood (P>0.05) หากแต่จะพบค่าความแตกต่างกันของอัตราการตายจากการขนส่ง น้ำหนักตัวเฉลี่ยเทียบกับมาตรฐาน น้ำหนักตัวที่เพิ่ม (BWG) และอัตราการเจริญเติบโตต่อวัน (ADG) ระหว่างฝูงของไก่เนื้อที่เลี้ยงและเพศ (P<0.05) นอกจากนี้ยังไม่พบอิทธิพลร่วมระหว่างวิธีการกกลูกไก่ทั้งสองรูปแบบ และเพศต่อคุณภาพซาก และเปอร์เซ็นต์ซาก (P>0.05) และการวิธีการกกลูกไก่ทั้งสองรูปแบบไม่มีผลต่อคุณภาพซากและเปอร์เซ็นต์ซาก (P>0.05)
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5411

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2013, V. 41, Suppl. 1, p. 1-7

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2555, ปีที่ 41, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 1-7
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional