Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การคัดเลือก Ecorace ไหมอีรี่เพื่อการปรับปรุงพันธุ์
Screening of eri silkworm ecoraces towards variety improvement
Autores:  Duenpen Wongsorn
Siviali Sirimungkararat
Weerasak Saksirirat
Data:  2015-06-02
Ano:  2013
Palavras-chave:  Ecorace eri
Samiaricini
Silkworm
Variety improvement
Screening
Morphological
Growth
Yields
ไหมอีรี่
แมลง
การปรับปรุงพันธุ์
การคัดเลือก
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา
การเจริญเติบโต
ความแข็งแรง
ผลผลิต
การอยู่รอด
Resumo:  การคัดเลือก ecorace ไหมอีรี่ที่มีผลผลิตสูง และมีลักษณะทางสัณฐานที่ชัดเจน เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการปรับปรุงพันธุ์ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือก ecorace ไหมอีรี่สำหรับนำไปสู่การปรับปรุงพันธุ์ การสำรวจและรวบรวมไหมอีรี่ทั้งในประเทศและจากความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศ ได้ไหมอีรี่จำนวน 5 ecoraceได้แก่ SaKKU1, SaKKU2, SaKKU3, SaKKU4 และ SaKKU5 เมื่อนำมาเพาะเลี้ยงด้วยใบละหุ่งพันธุ์ TCO101 ที่สภาพอุณหภูมิ 25±2°ซ 80±5% R.H. พบว่าไหมป่าทั้ง 5 ecorace มีลักษณะทางสัณฐานวิทยาที่คล้ายคลึงกัน เฉพาะ SaKKU1 เท่านั้นที่ในระยะหนอนไหมวัย 5 มีแป้งสีขาวปกคลุมเมื่อเริ่มสุกลำตัวจะมีสีเหลืองใสเข้ม อีกทั้งวงจรชีวิตยังมีค่าใกล้เคียงกันเท่ากับ 46-53, 42-53, 42-52, 40-56 และ 41-52 วัน สำหรับ ecorace SaKKU1, SaKKU2, SaKKU3, SaKKU4 และ SaKKU5 ตามลำดับส่วนอัตราการอยู่รอดนั้น SaKKU1 มีค่าสูงที่สุด ทั้งในระยะหนอน (100%) และระยะหนอน-ตัวเต็มวัย (88.89%) ซึ่งแตกต่างทางสถิติ (P<0.05) กับ ecorace อื่นๆ นอกจากนั้นยังให้ผลผลิตเฉลี่ยต่างๆ สูงที่สุดอีกด้วย ซึ่งได้แก่ น้ำหนักรังสด (3.8016 กรัม) น้ำ หนักดักแด้ (3.2532 กรัม) น้ำหนักเปลือกรัง (0.5287 กรัม) เปอร์เซ็นต์เปลือกรัง (14.01%) น้ำหนักรังสด/หนอน 10,000 ตัว (38.01 กิโลกรัม) จำนวนไข่/แม่ (531.13 ฟอง) จำนวนไข่ทั้งหมด (6,375.27 ฟอง) และจำนวนไข่ฟักทั้งหมด (6,006.13 ฟอง) โดยแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับ ecorace อื่นๆ จากข้อมูลดังกล่าว โดยเฉพาะการอยู่รอดและผลผลิตดังกล่าว ไหมอีรี่ ecoraceSaKKU1 จึงมีความเหมาะสมอย่างยิ่งในการคัดเลือกไว้เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ต่อไป

การคัดเลือก ecorace ไหมอีรี่ที่มีผลผลิตสูง และมีลักษณะทางสัณฐานที่ชัดเจน เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการปรับปรุงพันธุ์ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือก ecorace ไหมอีรี่สำหรับนำไปสู่การปรับปรุงพันธุ์ การสำรวจและรวบรวมไหมอีรี่ทั้งในประเทศและจากความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศ ได้ไหมอีรี่จำนวน 5 ecoraceได้แก่ SaKKU1, SaKKU2, SaKKU3, SaKKU4 และ SaKKU5 เมื่อนำมาเพาะเลี้ยงด้วยใบละหุ่งพันธุ์ TCO101 ที่สภาพอุณหภูมิ 25±2°ซ 80±5% R.H. พบว่าไหมป่าทั้ง 5 ecorace มีลักษณะทางสัณฐานวิทยาที่คล้ายคลึงกัน เฉพาะ SaKKU1 เท่านั้นที่ในระยะหนอนไหมวัย 5 มีแป้งสีขาวปกคลุมเมื่อเริ่มสุกลำตัวจะมีสีเหลืองใสเข้ม อีกทั้งวงจรชีวิตยังมีค่าใกล้เคียงกันเท่ากับ 46-53, 42-53, 42-52, 40-56 และ 41-52 วัน สำหรับ ecorace SaKKU1, SaKKU2, SaKKU3, SaKKU4 และ SaKKU5 ตามลำดับส่วนอัตราการอยู่รอดนั้น SaKKU1 มีค่าสูงที่สุด ทั้งในระยะหนอน (100%) และระยะหนอน-ตัวเต็มวัย (88.89%) ซึ่งแตกต่างทางสถิติ (P<0.05) กับ ecorace อื่นๆ นอกจากนั้นยังให้ผลผลิตเฉลี่ยต่างๆ สูงที่สุดอีกด้วย ซึ่งได้แก่ น้ำหนักรังสด (3.8016 กรัม) น้ำ หนักดักแด้ (3.2532 กรัม) น้ำหนักเปลือกรัง (0.5287 กรัม) เปอร์เซ็นต์เปลือกรัง (14.01%) น้ำหนักรังสด/หนอน 10,000 ตัว (38.01 กิโลกรัม) จำนวนไข่/แม่ (531.13 ฟอง) จำนวนไข่ทั้งหมด (6,375.27 ฟอง) และจำนวนไข่ฟักทั้งหมด (6,006.13 ฟอง) โดยแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับ ecorace อื่นๆ จากข้อมูลดังกล่าว โดยเฉพาะการอยู่รอดและผลผลิตดังกล่าว ไหมอีรี่ ecoraceSaKKU1 จึงมีความเหมาะสมอย่างยิ่งในการคัดเลือกไว้เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ต่อไป
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5771

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2013, V. 41, Suppl. 1, p. 192-198

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2556, ปีที่ 41, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 192-198
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional