Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การพัฒนาพันธุ์อ้อยของศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุพรรณบุรี
Sugarcane varietal improvement of Subhan Buri Agricultural Research and Development Center
Autores:  Sarewat Juttupornpong
Sunee Srisink
Wanlipa Suchato
Pracha Thumthong
Kanoktip Lertprasertrat
Udomsak Duanmeesuk
Manit Sukhnimitre
Data:  2013-03-11
Ano:  2012
Palavras-chave:  Sugarcane
Breeding
Parental lines
High yield
New cultivar
อ้อย
การปรับปรุงพันธุ์อ้อย
การคัดเลือกพันธุ์
พ่อแม่พันธุ์
ลูกผสม
ความหวาน
ผลผลิตอ้อย
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุพรรณบุรี
Resumo:  Purpose of this study is to select the proper parent varieties and appropriate resulted progenies for rainfed area. The test of approved parent varieties show that the proven cross procedure had been selected 21 appropriate varieties for crossing. The clone RT 92-2 had been used as female parents and selfing. The preliminary yield trial in plant crop of sugarcane series 2007 show that there were 7 and 5 clones which had average cane yield superior to the check varieties, U Thong 8 and Suphanburi 80 respectively. The clone UT 07-317 was superior to U Thong 8 for sugar yield and C.C.S content, in set one as well as in set 2 clone UT 07-172 was superior to Suphanburi 80 for sugar yield and C.C.S contents. The clones 04-2-1402 and 04-2-1383 were superior to the check variety U Thong 3 for cane yield but inferior to U Thong 3 for sugar yield and C.C.S content.

การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการคัดเลือกพ่อแม่พันธุ์ที่เหมาะสมและสร้างลูกผสมเพื่อให้มีผลผลิตสูงสำหรับแนะนำให้เกษตรกรปลูก จากผลการทดสอบด้วยวิธีการ proven cross สามารถคัดเลือกพันธุ์ที่สามารถใช้เป็นพ่อและแม่พันธุ์และยังสามารถรักษาพันธุ์ไว้ได้จำนวน 21 พันธุ์ โดยโคลน RT 92-2 สามารถใช้เป็นแม่พันธุ์และผสมตัวเองได้ ผลการประเมินผลผลิตอ้อยปลูกอ้อยชุดปี 2550 พบว่า มีโคลนอ้อยที่ให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์อู่ทอง 8 จำนวน 7 โคลน โดยโคลน UT 07-317 มีผลผลิตน้ำตาลต่อไร่และค่า C.C.S สูงกว่าพันธุ์เปรียบเทียบอู่ทอง 8 สำหรับการประเมินในชุดที่ 2 พบว่า มีโคลนอ้อยจำนวน 5 พันธุ์ ที่มีผลผลิตอ้อยเฉลี่ยสูงกว่าพันธุ์สุพรรณบุรี 80 โดยโคลน UT 07-172 มีผลผลิตน้ำตาล และค่า C.C.S สูงกว่าพันธุ์สุพรรณบุรี 80 ผลผลิตเฉลี่ยของอ้อยชุดปี 2547 พบว่า อ้อยโคลน 04-2-1402 และ 04-2-1383มีผลผลิตเฉลี่ยจากการเก็บเกี่ยวในอ้อยปลูก อ้อยตอ 1 และตอ 2 รวม 14 ครั้ง จาก 6 แปลงทดลองสูงกว่าพันธุ์อู่ทอง 3 แต่มีผลผลิตน้ำตาลต่อไร่และค่า C.C.S ต่ำกว่าพันธุ์อู่ทอง 3
Tipo:  Collection
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5307

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2012, V. 40, Suppl. 3, p. 1-7

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2555, ปีที่ 40, ฉบับพิเศษ 3, หน้า 1-7
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional