Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การศึกษาการเพิ่มระดับโปรตีนของกากมะพร้าวสดและแห้ง โดยกระบวนการหมักยีสต์และยูเรีย
Study of increasing protein level of dry and fresh coconut meal by urea-yeast fermentation process
Autores:  Narumon Somkuna
Jarous Sawangtap
Jiraprapa Rodjarkken
Surasak Uttarawichian
Data:  2015-05-25
Ano:  2014
Palavras-chave:  Fresh coconut meal
Dry coconut meal
Coconut copra
Kernel meal
Fermentation process
Yeast
Saccharomyces cerevisiae
Urea
Animal feed
Crude protein level
กากมะพร้าวสด
กากมะพร้าวแห้ง
มะพร้าว
กระบวนการหมัก
ยีสต์
ยูเรีย
ระยะเวลาหมัก
อาหารสัตว์
โปรตีนหยาบ
การเพิ่มโปรตีน
ระดับโปรตีน
Resumo:  The objective of this study was to compare the increasing protein level of fresh and dry coconut meal by urea-yeast (Saccharomyces cerevisiae) fermentation process. The design was 2 X 8 factorial in CRD : factor A composed of 2 factors (dry and fresh coconut meal) and factor B composed of 8 factors (day of fermentation: 5, 10, 15, 20, 25, 30, 35 and 40 days). The samples of each day of fermentation were collected for crude protein analysis. The data was analyzed by using Analysis of Variance (ANOVA). The results were shown that the protein level at the different days of fermentation was different in fresh and dry coconut meal (P<0.05) which protein level of fresh coconut meal at day 10 was highest (34.40 %). While protein level in dry coconut meal was highest at day 40 of fermentation (18.87%) by there were not different among group (P>0.05). In conclusion, fermented fresh coconut meal could increase protein level higher than fermented dry coconut meal at the same day of fermentation.

กาารศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการเพิ่มระดับโปรตีนในกากมะพร้าวสดและแห้ง โดยกระบวนการหมักยีสต์ Saccharomyces cerevisiae และยูเรีย ใช้แผนการทดลองแบบ 2 X 8 แฟกทอเรียล ประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ ปัจจัยที่ 1 เป็นกากมะพร้าวสดและกากมะพร้าวแห้ง และปัจจัยที่ 2 เป็นระยะเวลาที่เปิด 8 ระยะ ได้แก่ 5, 10, 15, 20, 25, 30, 35 และ 40 วัน และศึกษาระดับโปรตีนในกากมะพร้าวหมักตามระยะเวลาในการหมัก ด้วยวิธีการวิเคราะห์โปรตีนหยาบ พบว่าระดับโปรตีนที่ได้จากการหมักกากมะพร้าวสดที่เวลา 10 วัน มีปริมาณโปรตีนเพิ่มขึ้นสูงที่สุด คือ ร้อยละ 34.40 และสูงกว่ากลุ่มอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนกากมะพร้าวแห้งที่หมักที่ระยะเวลา 40 วัน มีปริมาณโปรตีนร้อยละ 18.87 จากการวิจัยสรุปได้ว่าการหมักกากมะพร้าวสดด้วยกระบวนการหมักยีสต์และยูเรียทำให้มีระดับโปรตีนสูงกว่าการหมักกากมะพร้าวแห้งที่ระยะเวลาการหมักเดียวกัน
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5742

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2014, V. 42, Suppl. 1, p. 290-294

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2557, ปีที่ 42, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 290-294
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional