Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ผลของชนิดและอัตราของปูนต่อมันสำปะหลังที่ปลูกบนดินยโสธร
Effect of type and rate of limes on cassava grown on Yasothon soil
Autores:  Jeerawan Promma
Somchai Anusontpornperm
Suphicha Thanachit
Irb Kheoruenromne
Preecha Petprapa
Data:  2012-10-30
Ano:  2012
Palavras-chave:  Cassava
Grinded limestone
Dolomite lime
Yasothon soil
มันสำปะหลัง
หินปูนบด
ปูนโดโลไมต์
ดินยโสธร
ชนิดปูน
อัตราการใช้ปูน
ผลผลิต
Resumo:  Two years experiment was conducted in farmer field at Ban Kud Muang, Takhian subdistrict, Dan Khun Thot district, Nakhon Ratchasima province from April 2009 to May 2011 to investigate the response to type and rate of limes by cassava grown on Yasothon soil (Typic Paleustult). Randomized Complete Block design was employed with four replications. There were seven treatments comprising no application of lime as a control (NL), applications of grinded limestone (GL1, GL2 and GL3) and applications of dolomite lime (DL1, L2 and DL3) with both limes being applied at the rates of 100, 200 and 300 kg/rai in respective treatment. Limes were applied before planting repeatedly in the first and second year of the study. All treatments received equally split application of complete fertilizer (15-15-15) at the rate of 100 kg/rai at two- and four-month after planting. Young mature leaves (the fifth fully expanded leaf from the tip) were sampled at four months of age for the analysis of major nutrients concentration. Cassava was harvested at ten months old. Fresh tuber yield, starch yield and aboveground biomass in the second year were higher than that in the first year in all treatments. In the first year, application of dolomite lime at the rate of 300 kg/rai tended to give the highest fresh tuber yield of 2.67 ton/rai while at the rate of 100 kg/rai giving a slightly lower yield of 2.13 ton/rai. In the second year, use of grinded limestone at the rate of 300 kg rai-1 gave the highest fresh tuber yield of 4.28 ton/rai. It was slightly higher than the yield obtained from the treatment applied with dolomite lime at the same rate (4.11 ton/rai). These yields retrieved were very significantly higher than that gained from the control treatment without lime added. The application of grinded lime at the rate of 300 kg/rai also gave the highest starch yield of 1.32 ton/rai, which was also significantly greater than the yield retrieved from the control. The trend of aboveground biomass among treatments was similar to leaf and branch and closely related to given fresh tuber yield. These limes had no effect on a difference in major nutrients concentration in cassava leaf but P and K concentrations seemingly indicated inadequate amounts of both nutrients taken up by the plant.

เพื่อศึกษาการตอบสนองต่อชนิดและอัตราของปูนของมันสำปะหลังที่ปลูกบนดินยโสธรโดยพิจารณาจากการให้ผลผลิตและความเข้มข้นของธาตุอาหารในใบ ทำการทดลองในแปลงของเกษตรกร อ.ด่านขุนทด จ.นครารชสีมา ระยะเวลา 2 ปีตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2551 ถึงเดือน มีนาคม พ.ศ. 2553 ใช้แผนการทดลองแบบ RandomizedComplete Block จำนวน 4 ซำ 7 ตำรับการทดลอง ได้แก่ ตำรับที่ 1 (NL) ไม่มีการใส่ปูน ตำรับที่ 2-4 (GL1, GL2 และ GL3) ใส่หินปูนบดอัตรา 100, 200 และ 300 กก./ไร่ และตำรับที่ 5-7 (DL1, DL2 และ DL3) ใส่ปูนโดโลไมต์อัตรา 100, 200 และ 300 กก./ไร่ตามลำดับ ทุกตำรับได้รับปุ๋ยหลักสูตร 15-15-15 อัตรา 100 กก./ไร่แบ่งใส่ 2 ครั้งจำนวนเท่ากันที่อายุ 2 และ 4 เดือนหลังปลูก เก็บตัวอย่างใบมันสำปะหลังใบที่ 5 นับจากใบที่คลี่เต็มที่แล้วจากยอดที่อายุ 4 เดือนเพื่อวิเคราะห์ความเข้มข้นของธาตุอาหารหลัก และเก็บเกี่ยวผลผลิตที่อายุ 10 เดือนผลผลิตหัวสด ผลผลิตแป้ง และชีวมวลส่วนเหนือดินของมันสำปะหลังในปีที่ 2 มีค่าสูงกว่าในปีแรกทุกตำรับ ในปีแรกพบว่า การใส่ปูนโดโลไมต์อัตรา 300 กก./ไร่ให้ผลผลิตหัวมันสดสูงสุดเท่ากับ 2.67 ตัน/ไร่ รองลงมาได้แก่การใส่ปูนโดโลไมต์อัตรา 100 กก./ไร่ให้ผลผลิตหัวมันสด 2.13 ตัน/ไร่ ในปีที่สอง การใส่หินปูนบดอัตรา 300 กก./ไร่ให้ผลผลิตหัวสดสูงสุด เท่ากับ4.28 ตัน/ไร่ รองลงมาได้แก่ การใส่ปูนโดโลไมต์อัตรา 300 กก./ไร่ให้ผลผลิตหัวสด 4.11 ตัน/ไร่ซึ่งสูงกว่าการไม่ใส่ปูนอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ การใส่หินปูนบดอัตรา 300 กก./ไร่ทำให้ได้ผลผลิตแป้งสูงสุดเท่ากับ 1.32 ตัน/ไร่ซึ่งสูงกว่าตำรับที่ไม่ใส่ปูนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สำหรับน้ำหนักส่วนเหนือดินทั้งหมดให้ผลในทิศทางที่คล้ายคลึงกับนำหนักใบและกิ่งก้านและมีความสัมพันธ์กับผลผลิตหัวมันสำปะหลังสด ความเข้มข้นของธาตุอาหารหลักในใบมันสำปะหลังไม่มีความแตกต่างกัน แต่ความเข้มข้นของฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมอยู่ในระดับที่พืชมีแนวโน้มแสดงอาการขาด
Tipo:  Collections
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5209

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2012, V. 40, No. 1, p. 19-26

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2555, ปีที่ 40, ฉบับที่ 1, หน้า 19-26
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional