Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ผลของการจัดการน้ำต่อการปล่อยก๊าซมีเทนในนาข้าวศูนย์วิจัยข้าวลพบุรี
Effect of water management to emission methane gas in Lopburi Rice Research Center
Autores:  Arthit Kukam-oo
Naiyakon Sa-ngwnkaew
Kritkamol Paothong
Perapol Ratana
Data:  2016-02-26
Ano:  2015
Palavras-chave:  Water management
Greenhouse gas emission
Rice production
Lopburi province
Methane emission
การจัดการน้ำ
การเกิดก๊าซเรือนกระจก
การผลิตข้าว
จังหวัดลพบุรี
การปล่อยก๊าซมีเทน
Resumo:  Effect of water management to emission methane gas in Lopburi Rice Research Center dry season in 2014. Under Development of Alternative Technologies for Greenhouse Gas Emission Reduction and Information System for Decision Support of Policy Maker Project was experimental by Randomized Complete Block (RCB) 3 Replications to compare greenhouse gas emission from 3 Alternative Wet and Dry (AWD) with -10, -15, -20 cm water level and continuous irrigation method. Results showed that Lopburi Rice Research Center was sandy loam soil and AWD irrigation with -10 to -20 cm water level was 27 – 31 % water saving with comparative continuous irrigation method. AWD irrigation with -15 cm water level drainage tended to be best practice with minimum emission and water usage was 3,241 m3 per rai. AWD irrigation with -10 to -20 cm water level with 45 – 71 % methane emission reduction with comparative continuous irrigation method. AWD irrigation with -15 cm water level tended to be best practice with minimum emission was 53.98 mg m-2 day-1. Nevertheless, AWD irrigation with -15 cm water level was needed to be repeated to confirm farmers field before being transfer to large scale farmers.

ผลของการจัดการน้ำต่อการปล่อยก๊าซมีเทนในนาข้าวดำเนินการที่ศูนย์วิจัยข้าวลพบุรี ในฤดูนาปรัง2557 ภายใต้โครงการการพัฒนาเทคโนโลยีทางเลือกและระบบสารสนเทศการผลิตข้าวเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเชิงนโยบายในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกวางแผนการทดลอง แบบ RCB จำนวน 3 ซ้ำโดยการจัดการน้ำเป็นกรรมวิธีมี4 รูปแบบ ได้แก่การจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้งในระดับลึก 10, 15 และ 20 เซนติเมตร ใต้ผิวดิน เปรียบเทียบกับการจัดการแบบน้ำขังตลอดฤดูปลูก ผลการทดลองพบว่า การจัดการน้ำแบบ ต่างๆในนาข้าวมีผลต่อปริมาณน้ำที่ใช้และการปล่อยก๊าซมีเทน โดยในสภาพดินของศูนย์วิจัยข้าวลพบุรีที่มีเนื้อดินร่วนปนทราย พบว่า การให้น้ำแบบเปียกสลับแห้งที่ระดับ 10-20 เซนติเมตรใต้ผิวดิน ช่วยประหยัดน้ำได้ประมาณ ร้อยละ 27-31 เมื่อเทียบกับการปลูกข้าวแบบขังน้ำตลอด โดยการให้น้ำแบบเปียกสลับแห้งที่ระดับ 15 เซนติเมตร ใต้ผิวดินใช้น้ำน้อยที่สุด 3,241 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ สำหรับการปล่อยก๊าซมีเทนเป็นไปในทิศทางเดียวกับปริมาณการใช้น้ำ โดยการให้น้ำแบบเปียกสลับแห้งที่ระดับ 10-20 เซนติเมตรใต้ผิวดิน ช่วยลดการปล่อยก๊าซมีเทนได้ประมาณ ร้อยละ 45-71 เมื่อเทียบกับการปลูกข้าวแบบขังน้ำตลอด โดยการให้น้ำแบบเปียกสลับแห้งที่ระดับ 15 เซนติเมตร ใต้ผิวดินปล่อยก๊าซมีเทนน้อยที่สุด 53.98มิลลิกรัมต่อตารางเมตรต่อวัน ซึ่งการจัดการน้ำรูปแบบนี้น่าจะเป็นการจัดการน้ำที่เหมาะสมที่สุดในการปลูกข้าวที่ประหยัดน้ำและปล่อยก๊าซมีเทนน้อยที่สุด อย่างไรก็ดี ต้องทำการทดลองซ้ำเพื่อยืนยันผลก่อนนำไปทดสอบในนาเกษตรกรต่อไป
Tipo:  Collection
Idioma:  Thailandês
Identificador:  [Proceeding of The 8th rice research conference 2015: Rice research center groups in upper and lower northern region], Chiang Rai (Thailand), p. 159-171 เ

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5944

อกสารประกอบการสัมมนาวิชาการกลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคเหนือตอนบนและภาคเหนือตอนล่าง ประจำปี 2558, เชียงราย หน้า 159-171
Formato:  298 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสาร นี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional