Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ความสำคัญของแรงงานในชุมชนต่อการปลูกผักกาดหัวแบบประณีต
Importance of labor within community for intensive chinese radish production
Autores:  Orawan Kanchat
Nisit Kamla
Suchint Simaraks
Arunee Promkhambut
Data:  2015-05-21
Ano:  2013
Palavras-chave:  Chinese radish
Plant production
Labor management
Household labor
Community labor
Labour shortage
Nong-Ngong village
Baan-Had district
Khon Kaen province
ผักกาดหัว
การผลิตพืช
การจัดการแรงงาน
ครัวเรือนเกษตรกร
แรงงานครัวเรือน
แรงงานชุมชน
ความขาดแคลนแรงงาน
การเคลื่อนย้ายแรงงาน
บ้านหนองโง้ง
อ.บ้านแฮด
จ.ขอนแก่น
Resumo:  The objective of this study is to investigate the importance of community labor for intensive Chinese radish production. Data was collected by questionnaire distributed to 36 farmers from a total of 60 farmers’ household in the community. The results showed that the farmers in Nong-Ngong village, Baan-Had district, Khon Kaen province have been in the continued practice for more than 30 years using mainly household and community labor. On average, the household labor was two persons where during the high labor requirement period, the farmers would exchange and share labor these between households in the community that similar to the past. Nonetheless, exchanging and sharing labors provided some amount of money for labor working. There were not appearing to have been hired labor from outside the community to plant Chinese radish. Some labors have free time before going to work in the morning and in the evening after work to plant the Chinese radish. In addition to community labor, the children of the community are important for labor in the plant Chinese radish. As a result, the farmers in this village plant Chinese radish continuously and the farmers receive income from agriculture sector throughout the year. The labor is importance to the intensive Chinese radish production in this community helping not only to increase revenue for the community but also to keep labor in the community.

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทำความเข้าใจความสำคัญของแรงงานชุมชนต่อการปลูกผักกาดหัวแบบประณีต ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสัมภาษณ์เกษตรกร จำนวน 36 ราย จากครัวเรือนเกษตรกรของชุมชนทั้งหมด 60 ราย ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรบ้านหนองโง้ง อำเภอบ้านแฮด จังหวัดขอนแก่น มีการปลูกผักกาดหัวแบบประณีตมาเป็นเวลาต่อเนื่องนานกว่า 30 ปี โดยการใช้แรงงานในครัวเรือนและแรงงานในชุมชนเป็นหลัก แต่ละครัวเรือนมีแรงงานเฉลี่ย 2 คน ในช่วงเวลาที่ต้องใช้แรงงานสูงสุดและช่วงเร่งเก็บเกี่ยว เกษตรกรมีการแลกเปลี่ยนแรงงานระหว่างครัวเรือนในชุมชน ซึ่งคล้ายกันกับการลงแขกในอดีต แต่แตกต่างกันตรงที่ต้องมีเงินเป็นค่าจ้าง ไม่ปรากฏว่ามีการจ้างแรงงานจากนอกชุมชนเพื่อการปลูกผักกาดหัว แรงงานบางส่วนที่ทำงานนอกภาคการเกษตรใช้เวลาว่างในช่วงเช้าก่อนไปทำงานและช่วงเย็นหลังจากเลิกงานมาปลูกผักกาดหัว รวมทั้งมีแรงงานเด็กที่เป็นลูกหลานของคนในชุมชนเป็นแรงงานเสริมที่สำคัญในการปลูกผักกาดหัวแบบประณีตด้วย จึงทำให้เกษตรกรในชุมชนนี้สามารถปลูกผักกาดหัวได้อย่างต่อเนื่องและมีรายได้จากภาคการเกษตรเกือบตลอดทั้งปี โดยแรงงานเหล่านี้ถือเป็นหัวใจที่สำคัญต่อระบบการปลูกผักกาดหัวแบบประณีตของชุมชน นอกจากจะเพิ่มรายได้แล้วยังสามารถตรึงแรงงานให้อยู่ในท้องถิ่นได้
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5733

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2013, V. 41, Suppl. 1, p. 315-320

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2556, ปีที่ 41, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 315-320
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional