Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ผลของการใช้กากถั่วเหลืองหมักในสูตรอาหารต่อการย่อยได้ของโภชนะในลูกสุกรหย่านม
Effect of using fermented soybean meal in diet on nutrients digestibility in weaning pigs
Autores:  Daorung Sila-on
Chanika Chanthasa
Data:  2015-05-27
Ano:  2014
Palavras-chave:  Weaning pigs
Soybean meal
Fermented soybean meal
Pineapple peel juice
Digestive system
Nutrients digestibility
Dry matter
Organic matter
Protein
Fat
Fiber
Ash
Feed production
ลูกสุกรหย่านม
กากถั่วเหลือง
เปลือกสับปะรด
ระบบการย่อยอาหาร
การย่อยอาหาร
ประสิทธิภาพการย่อยได้
ประสิทธิภาพการย่อยโปรตีน
ประสิทธิภาพการย่อยไขมัน
ประสิทธิภาพการย่อยเยื่อใย
ประสิทธิภาพการย่อยอินทรีย์วัตถุ
คุณค่าทางโภชนะ
สูตรอาหารสัตว์
Resumo:  The objective of this study was to examine effect of using fermented soybean meal with pineapple peel juice in diet on nutrients digestibility in weaning pigs. Twelve male weaning pigs, 5-weeks-old were used in a completely randomized design (CRD). There were 4 treatments; group 1 and 2 were 22% protein diet with soybean meal and fermented soybean meal, respectively and group 3 and 4 were 20% protein diet with soybean meal and fermented soybean meal, respectively. The result was found that digestibility of dry matter, organic matter, protein, fat, fiber and ash in all groups were not statistically significant difference (P>0.05). Therefore, the use of fermented soybean meal with pineapple peel juice 22% and 20% in diet did not affect nutrients digestibility in weaning pigs.

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้กากถั่วเหลืองที่หมักกับน้ำคั้นจากเปลือกสับปะรดในสูตรอาหารต่อการย่อยได้ของโภชนะในลูกสุกรหย่านม โดยใช้ลูกสุกรหย่านมเพศผู้อายุ 6 สัปดาห์จำนวน 12 ตัว ถูกจัดเข้าแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design, CRD) ซึ่งมี 4 กลุ่มการทดลองดังนี้ กลุ่มการทดลองที่ 1 และ 2 คืออาหารระดับโปรตีน 22% ที่มีส่วนผสมของกากถั่วเหลือง และกากถั่วเหลืองหมัก ตามลำดับ และ กลุ่มการทดลองที่ 3 และ 4 คืออาหารระดับโปรตีน 20% ที่มีส่วนผสมของกากถั่วเหลือง และกากถั่วเหลืองหมัก ตามลำดับ จากผลการศึกษาพบว่า การย่อยได้ของสิ่งแห้ง อินทรีย์วัตถุ โปรตีน ไขมัน เยื่อใย พลังงาน และเถ้าของทุกกลุ่มการทดลองไม่แตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) ดังนั้นในการใช้กากถั่วเหลืองที่หมักกับน้ำสับปะรดในสูตรอาหารทั้งอาหารที่มีโปรตีน 22 และ 20% ไม่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการย่อยได้โภชนะของลูกสุกรหย่านม
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5757

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2014, V. 42, Suppl. 1, p. 323-327

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2557, ปีที่ 42, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 323-327
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional