Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การพัฒนาสายพันธุ์เรณูเป็นหมันโดยวิธีการผสมกลับ
Development of CMS lines by backcrossing
Autores:  Bang-on Thammasamisorn
Data:  2015-05-18
Ano:  2013
Palavras-chave:  Cytoplasmic male sterile
CMS line
Hybrid rice
Backcross
Genetic stability
Varieties
Plant breeding
Growth
Seeds quality
Seed set
Pollen sterility
สายพันธุ์เรณูเป็นหมัน
การผสมกลับ
ข้าวลูกผสม
การผสมพันธุ์ข้าว
การปรับปรุงพันธุ์
ลักษณะประจำพันธุ์
การทดสอบพันธุ์
ระยะเวลาออกดอก
เปอร์เซ็นต์การติดเมล็ด
คุณภาพเมล็ดพันธุ์
Resumo:  Development of new CMS lines by backcrossing was conducted at Suphan Buri Rice Research Center during 2005-2011. The objective was to develop Thai elite breeding lines to be better varieties of CMS lines adapted to the environment in Thailand. The new CMS lines will be used for research project on hybrid rice production. CMS lines from IRRI were used as donor in repeated backcrossing of 6-7 generations to the recurrent parent, Thai elite breeding line. After seven generations of repeated backcrossing two new CMS lines, SPR06186A (IR58025A/7*SPR98015-59-1-2-2-2) and SPR06189A (IR73328A/7*SPR98015-59-1-2-2-2), were developed. These two lines have one hundred percent of pollen sterility and similar agronomic traits to the recurrent parent. SPR06186A has a duration from seeding to 50% flowering of 84 days, 94.2 cm height, 17.0 tillers per plant, 23.3 cm panicle length, 18.1 cm panicle exserted, and 77.5 percent of panicle exsertion. SPR006189A has a duration from seeding to 50% flowering of 82 days, 93.4 cm height, 19.0 tillers per plant, 24.4 cm panicle length, 19.2 cm panicle exserted, and 78.6 percent of panicle exsertion. The high percentage of panicle exsertion will result in more number of flowers to be pollinated and high percentage of seed set.

การพัฒนาสายพันธุ์เรณูเป็นหมันโดยวิธีผสมกลับ ดำเนินการที่ศูนย์วิจัยข้าวสุพรรณบุรี ระหว่างปี พ.ศ. 2548 - 2554 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะพัฒนาสายพันธุ์ข้าวพันธุ์ดีของไทยให้เป็นสายพันธุ์เรณูเป็นหมันใหม่ที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของประเทศไทย สำหรับใช้ในโครงการวิจัยการผลิตข้าวลูกผสม ทำการผสมกลับประมาณ 6-7 ชั่ว โดย ใช้สายพันธุ์เรณูเป็นหมันของต่างประเทศ เป็นตัวให้ (donor parent) และข้าวสายพันธุ์ดีของไทยเป็นตัวรับ (recurrent parent) หลังจากผสมกลับแล้ว 7 ชั่ว พบสายพันธุ์ข้าวเรณูเป็นหมันใหม่ที่เป็นสายพันธุ์ข้าวของไทย จำนวน 2 สายพันธุ์ คือSPR06186A (IR58025A/7*SPR98015-59-1-2-2-2) และSPR06189A (IR73328A/7*SPR9801 5-59-1-2-2-2) ซึ่งทั้ง 2 สายพันธุ์นี้พบว่ามีลักษณะเรณูเป็นหมัน 100 เปอร์เซ็นต์ และมีลักษณะทางการเกษตรเหมือนกับข้าวสายพันธุ์ดีที่เป็นตัวรับ (recurrent parent) สายพันธุ์ SPR06186A มีอายุออกดอก 50 เปอร์เซ็นต์ เท่ากับ 84 วัน ความสูง 94.2 เซนติเมตร แตกกอ 17.0 หน่อต่อต้น ความยาวรวง 23.3 เซนติเมตร ความยาวพ้นคอรวง 18.1 เซนติเมตร และเปอร์เซ็นต์โผล่พ้นคอรวงเท่ากับ 77.5 เปอร์เซ็นต์ สายพันธุ์ SPR006189A มีอายุออกดอก 50 เปอร์เซ็นต์ เท่ากับ 84 วัน ความสูง 93.4 เซนติเมตร แตกกอ 19.0 หน่อต่อต้น ความยาวรวง 24.4 เซนติเมตร ความยาวพ้นคอรวง 19.2 เซนติเมตร และมีเปอร์เซ็นต์โผล่พ้นคอรวงเท่ากับ 78.6 เปอร์เซ็นต์ โดยลักษณะการมีเปอร์เซ็นต์ของการโผล่พ้นคอรวงที่สูงจะทำให้มีจำนวนของดอกที่จะรับการถ่ายละอองเรณูมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้เปอร์เซ็นต์การติดเมล็ดมีมากขึ้น
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  [Proceeding of rice research conference 2012: Rice research center groups in central, eastern and western region], Bangkok (Thailand), p. 56-67

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5703

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการข้าว กลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคกลาง ตะวันออก และตะวันตก ประจำปี 2555, กรุงเทพฯ, หน้า 56-67
Formato:  315 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสาร นี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional