Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การศึกษาประสิทธิภาพการย่อยวัตถุดิบอาหารในปลาโมง ด้วยวิธี In vitro protein digestibility
A study of the in vitro protein digestibility in feed ingredients of bocourti's catfish (Pangasius bocourti)
Autores:  Thanawat Siriparinyanant
Bundit Yuangsoi
Sutee Wongmaneeprateep
Suttisak Boonyoung
Data:  2015-05-27
Ano:  2014
Palavras-chave:  Pangasius bocourti
Bocorti’s catfish
Fish feed
Feed ingredients
Fish meal
Soy bean meal
Corn
Rice bran
Feed production
Digestive system
In vitro protein digestibility
Protease enzyme
ปลาโมง
อาหารปลา
ปลาป่น
กากถั่วเหลือง
ข้าวโพด
รำข้าว
วัตถุดิบ
การผลิตอาหารปลา
การย่อยอาหาร
ประสิทธิภาพการย่อยโปรตีน
เอนไซม์โปรติเอส
ระบบการย่อยอาหาร
Resumo:  This study was undertaken to determine the in vitro protein digestibility in feed ingredients (fish meal, soy bean meal, corn and rice bran) in bocurti’s catfish at two sizes; small size with weight 30-40 grm/fish and big size with weight 80-100 grm/fish. This information was conducted to generat data for suitable feed formulation for bocurti’s catfish culture. Protease activity had optimum pH at 8 for stomach in both size of fish. Protease activity extracted from intestine with different pH had optimum pH at 12 and pH 10 for small size and big size of fish, respectively. The protein digestibility of feed ingredients was measured in vitro using whole intestine enzyme extract from the bocurti’s catfish. The in vitro protein digestibility was shown significant differences among the feed ingredients (p<0.05). Fish meal presented the highest protein digestibility in small size of fish with enzyme extract from stomach and intestine by 81.16 ± 0.007 and 85.24 ± 0.012%, respectively. No significant differences in the in vitro protein digestibility were found among the ingredients using enzyme extract from big size of fish (p>0.05). This study indicated that protease activity in various sizes of fish may be a serine protease because serine protease generally exhibit pH optimum in the rage 7-11. The in vitro protein digestibility of different feed ingredients is found different by using crude enzyme extract of bocurti’s catfish. Protein digestibility of animal protein source (fish meal) was shown the highest in small fish but big size of fish had a good digestibility for all the feed ingredients. For this, the result can be used as a basis for suitable feed formulation for various sizes of bocurti’s catfish which has optimum nutrition value and are cost -effective.

การทดลองนี้เป็นการศึกษาประสิทธิภาพการย่อยด้วยวิธี in vitro protein digestibility ในวัตถุดิบอาหารได้แก่ ปลาป่น กากถั่วเหลือง ข้าวโพด และรำ เพื่อเป็นแนวทางในการผลิตสูตรอาหารสำหรับเลี้ยงปลาโมง โดยในการศึกษานี้ทดดลองในปลาโมง 2 ขนาด คือขนาดเล็กน้ำหนักเฉลี่ย 30-40 กรัม/ตัว และขนาดใหญ่น้ำหนักเฉลี่ย 80-100 กรัม/ตัว พบว่ากิจกรรมของเอนไซม์โปรติเอสในกระเพาะอาหารของปลาโมงทั้ง 2 ขนาดมีแนวโน้มสูงที่สุดที่ pH 8 ในส่วนของลำไส้กิจกรรมของเอนไซม์โปรติเอสในลำไส้ปลาขนาดเล็กและใหญ่มีแนวโน้มสูงสุดที่ pH 12 และ pH 10 จากผลการศึกษา พบว่าประสิทธิภาพการย่อยได้ของโปรตีนในปลาป่น จากเอนไซม์ที่สกัดได้จากกระเพาะอาหาร และลำไส้ในปลาขนาดเล็ก มีค่าสูงสุดเมื่อเทียบกับวัตถุดิบอาหารชนิดอื่น (p<0.05) โดยมีค่า 81.16 ± 0.007 และ 85.24 ± 0.012 เปอร์เซ็นต์ แต่ประสิทธิภาพการย่อยได้ของโปรตีนในวัตถุดิบอาหารทุกชนิดมีค่าใกล้เคียงกันในปลาโมงขนาดใหญ่ (p>0.05) จากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าเอนไซม์โปรติเอสที่สกัดได้จากกระเพาะและส่วนของลำไส้ปลาโมงทั้ง 2 ขนาด น่าจะเป็นเอนไซม์ในกลุ่มซีรีนโปรติเอส เนื่องจากสามารถย่อยโปรตีนได้ในสภาวะที่เป็นด่าง ในช่วง pH 7-11 และปลาโมงขนาดเล็กมีประสิทธิภาพการย่อยโปรตีนจากวัตถุดิบจากสัตว์ได้ดีกว่าวัตถุดิบจากพืช ส่วนปลาโมงขนาดใหญ่มีประสิทธิภาพในการย่อยโปรตีนจากวัตถุดิบอาหารทุกชนิด ได้ดี ดังนั้นผลจากการศึกษานี้จึงเป็นข้อมูลพื้นฐานในการสร้าง และปรับปรุงสูตรอาหารที่เหมาะสมกับขนาดของปลาโมง ทั้งด้านโภชนาการและราคา
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5756

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2014, V. 42, Suppl. 1, p. 32-37

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2557, ปีที่ 42, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 32-37
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional