Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การพัฒนาระบบการเกษตรแบบนาขั้นบันได แก่ราษฎรบ้านน้ำคับน้ำจวง ตำบลบ่อภาค อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก (ปี 2554)
The development of agricultural system to paddy rice terrace at Ban Nam khap - Nam juang, Tambon Bo Phak, Amphoe Chat Trakan, Phitsanulok province
Autores:  Phamorn Pattawatang
Jate Kotcharerk
Phongsa Suksoem
Data:  2014-06-10
Ano:  2012
Palavras-chave:  Paddy rice terraces
Highland rice
Royal project
Phitsanulok province
Upland rice
ข้าวที่สูง
นาขั้นบันได
การทดสอบพันธุ์
การเกษตรแบบนาขั้นบันได
ผลผลิต
โครงการหลวง
จ.พิษณุโลก
Resumo:  The development of agricultural system paddy rice terrace one is an activity under the project contrary to the security area, Phukhat Phumiang Phusoidao as a Royal projects. To the people Ban Nam khap - Nam juang Tambon Bo Phak, Amphoe Chat Trakan, Phitsanulok Province. 2011 Crop season, farmers participating in the project include 46 cases converting upland field to area is paddy rice terrace was 192.2 rai. The test varieties / lines of rice that have the potential for the area. Rice promising line PSL95120-28-5-R-R has average highest yield at 801 kg per rai. While Bue Po Lo Mae Nah Chang Nuea, RD39, Khao Hom, La-oop and Khao Luang San Patong varieties average yield did not differ significantly at 604, 602, 594, 591 and 515 kg per rai, respectively, compared to local varieties, Chao Khao (long grain), the average minimum yield of 318 kg per rai. Comparison of yield. with a good variety of the agricultural system paddy rice terrace in the average yield per rai higher than the upland rice area 2.5 times. Can be elevated to a higher yield per unit area is up enough for consumption in a population of 2,640 persons. Consumption of rice is about 580 tons per year (220 kg of rice per person per year) compared to the area and found that rice planting for rice growing areas will be approximately 1,700 to 1,800 rai. While grown in system paddy rice terrace with the use of space, only about 700 to 900 rai, can reduce the area planted to rice is 1,000 rai or more in the long-term, operations from 2010 to 2011 and the response from farmers participating are satisfied with the yield increasing paddy rice terrace technology and more acceptable, Ready to expand the development of a model community of Phitsanulok and transfer to farmer’s paddy rice terrace in other areas as well.

การพัฒนาระบบการเกษตรแบบนาขั้นบันได เป็นกิจกรรมหนึ่งภายใต้โครงการพัฒนาเพื่อความมั่นคง พื้นที่ภูขัด ภูเมี่ยง ภูสอยดาว อันเนื่องมาจากพระราชดำริ แก่ราษฎรบ้านน้ำคับน้ำจวง ตำบลบ่อภาค อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก ฤดูนาปี 2554 มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการรวม 46 ราย ปรับสภาพพื้นที่เป็นแปลงนาขั้นบันไดได้ 192.2 ไร่ การทดสอบพันธุ์ที่มีศักยภาพเหมาะสมต่อพื้นที่ พบว่า ข้าวสายพันธุ์ดีPSL95120-28-5-R-R ให้ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุด 801 กิโลกรัมต่อไร่ ในขณะที่พันธุ์บือโปะโละ แม่นาจางเหนือ กข39 ข้าวหอม ละอูบ และข้าวหลวงสันป่าตอง ให้ผลผลิตเฉลี่ยไม่แตกต่างกัน 604 602 594 591 และ 515กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ ส่วนพันธุ์เปรียบเทียบท้องถิ่น เจ้าขาว (เมล็ดยาว) ให้ผลผลิตเฉลี่ยต่ำสุด 318 กิโลกรัมต่อไร่ การเปรียบเทียบผลผลิต เมื่อใช้พันธุ์ดีที่เหมาะสมในระบบการเกษตรแบบนาขั้นบันได จะให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ สูงกว่าแบบหยอดสภาพไร่ 2.5 เท่า สามารถยกระดับผลผลิตข้าวต่อพื้นที่ให้สูงขึ้น เพียงพอต่อการบริโภคในชุมชนซึ่งมีประชากรจำนวน 2,640 คน มีความต้องการบริโภคข้าวเปลือกประมาณ 580 ตันต่อปี (220 กก.ข้าวเปลือกต่อคนต่อปี) เมื่อเปรียบเทียบการใช้พื้นที่ผลิตข้าวแล้ว พบว่า การปลูกแบบสภาพข้าวไร่จะต้องใช้พื้นที่ปลูกประมาณ 1,700 – 1,800 ไร่ ในขณะที่การปลูกแบบนาขั้นบันไดมีการใช้พื้นที่เพียง ประมาณ 700 -900 ไร่ สามารถลดพื้นที่ปลูกข้าวไร่ลงได้ 1,000 ไร่ หรือมากกว่าในระยะยาว จากการดำเนินงานตั้งแต่ปี 2553 ถึง 2554 ผลการตอบรับจากราษฎรที่เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจต่อผลผลิตข้าวที่เพิ่มขึ้น และยอมรับเทคโนโลยีระบบปลูกข้าวแบบนาขั้นบันได สามารถขยายผล พัฒนาเป็นชุมชนต้นแบบของจังหวัดพิษณุโลก และถ่ายทอดไปสู่ราษฎรที่ท้านาขั้นบันไดในพื้นที่อื่น ๆ ต่อไป
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  [Proceeding of rice research symposium 2012: Rice research center groups in upper and lower northern region], Phitsanulok (Thailand), p. 242-251

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5586

เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการกลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคเหนือตอนบนและภาคเหนือตอนล่าง ประจำปี 2555, พิษณุโลก, หน้า 242-251
Formato:  298 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional